Quality Educationการดำเนินการตามเป้าหมายที่ 4: การศึกษาที่เท่าเทียม ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชศาสตร์และเทคโนโลยีให้แก่นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล ผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในต่างประเทศ เวลาที่จัดกิจกรรม: 6 ส.ค. - 7 ธ.ค. 61 สถานที่จัดกิจกรรม: ออสเตรีย กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาไทยเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Institute for Analytical Chemistry, Johannes Kepler University จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 2 ผลลัพธ์: นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ ทักษะทางสังคม และศักยภาพผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและความร่วมมือในระดับสากล Web link: ... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชศาสตร์และเทคโนโลยีให้แก่นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล ผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในต่างประเทศ เวลาที่จัดกิจกรรม: 18 ก.ย. - 8 ธ.ค. 61 สถานที่จัดกิจกรรม: ญี่ปุ่น กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาไทยเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Graduate School and Faculty of Pharmaceutical Sciences, Kyushu University จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 4 ผลลัพธ์: นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ ทักษะทางสังคม และศักยภาพผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและความร่วมมือในระดับสากล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activities/2374 https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชศาสตร์และเทคโนโลยีให้แก่นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล ผ่านการฝึกอบรมทางวิชาชีพในต่างประเทศ เวลาที่จัดกิจกรรม: 1 ต.ค. - 10 พ.ย. 61 สถานที่จัดกิจกรรม: ญี่ปุ่น กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาไทยเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกอบรมทางวิชาชีพ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Graduate School of Pharmaceutical Sciences, Chiba University จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 1 ผลลัพธ์: นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ ทักษะทางสังคม และศักยภาพผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและความร่วมมือในระดับสากล Web link: ... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชศาสตร์และเทคโนโลยีให้แก่นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล ผ่านการฝึกอบรมทางวิชาชีพในต่างประเทศ เวลาที่จัดกิจกรรม: 1 ต.ค. - 29 พ.ย. 61 สถานที่จัดกิจกรรม: ญี่ปุ่น กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาไทยเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกอบรมทางวิชาชีพ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Graduate School of Pharmaceutical Sciences, Chiba University จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 1 ผลลัพธ์: นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ ทักษะทางสังคม และศักยภาพผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและความร่วมมือในระดับสากล Web link: ... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้งความเป็นพลเมืองโลกและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมผ่านกิจกรรมความร่วมมือในระดับนานาชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 24 ต.ค. - 2 พ.ย. 61 สถานที่จัดกิจกรรม: ญี่ปุ่น กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาไทยเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: กิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาระยะสั้น หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: School of Pharmacy and Pharmaceutical Sciences, Kanazawa University จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 3 ผลลัพธ์: นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ ทักษะทางสังคม และศักยภาพผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและความร่วมมือในระดับสากล Web link: ... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรมให้แก่นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 21 ม.ค. - 20 ก.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: ไทย (คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล) กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกอบรมทางวิชาชีพ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: University of Angers จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 1 ผลลัพธ์: 1) ความเป็นเลิศทางวิชาการและภาพลักษณ์ของคณะฯ เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล 2) นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและศักยภาพผ่านความร่วมมือในระดับสากล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activities/2419 https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรมให้แก่นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 28 ม.ค. - 8 มี.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: ไทย (คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล) กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเภสัชกรรมคลินิก หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Meiji Pharmaceutical University จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 2 ผลลัพธ์: 1) ความเป็นเลิศทางวิชาการและภาพลักษณ์ของคณะฯ เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล 2) นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและศักยภาพผ่านความร่วมมือในระดับสากล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activities/2424 https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรมให้แก่นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 18 ก.พ. - 28 มี.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: ไทย (คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล) กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเภสัชกรรมคลินิก หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: College of Pharmacy, University of Illinois at Chicago จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 3 ผลลัพธ์: ความเป็นเลิศทางวิชาการและภาพลักษณ์ของคณะฯ เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activities/2462 https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้งความเป็นพลเมืองโลกและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมผ่านกิจกรรมความร่วมมือในระดับนานาชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 18-22 มี.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: ไทย (คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล) กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ รูปแบบจัดกิจกรรม: กิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาระยะสั้น หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: School of Pharmacy, Taylor's University จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 4 ผลลัพธ์: 1) ความเป็นเลิศทางวิชาการและภาพลักษณ์ของคณะฯ เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล 2) นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและศักยภาพผ่านความร่วมมือในระดับสากล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activities/2456 https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรมให้แก่นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 9 เม.ย. - 14 ส.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: ไทย (คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล) กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกอบรมทางวิชาชีพ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Paris Descartes University จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 1 ผลลัพธ์: 1) ความเป็นเลิศทางวิชาการและภาพลักษณ์ของคณะฯ เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activities/2555 https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชศาสตร์และเทคโนโลยีให้แก่นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล ผ่านการฝึกอบรมทางวิชาชีพในต่างประเทศ เวลาที่จัดกิจกรรม: 1 พ.ค. - 31 ก.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: สเปน กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาไทยเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกอบรมทางวิชาชีพ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Escola Universit?ria Salesiana de Sarri? จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 1 ผลลัพธ์: นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ ทักษะทางสังคม และศักยภาพผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและความร่วมมือในระดับสากล Web link: ... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: จัดการสอบสัมภาษณ์สำหรับผู้ที่สอบผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาตามระบบ TCAS รอบที่ 3 เวลาที่จัดกิจกรรม: 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มเป้าหมาย: - รูปแบบจัดกิจกรรม: สัมภาษณ์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 120 คน ผลลัพธ์: - Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2479 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้งความเป็นพลเมืองโลกและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมผ่านกิจกรรมความร่วมมือในระดับนานาชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 13-18 พ.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: เวียดนาม กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาไทยเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: กิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาระยะสั้น หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: MU Backpack: Faculty of Pharmacy, University of Medicine and Pharmacy at Ho Chi Minh City จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 4 ผลลัพธ์: นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและศักยภาพผ่านความร่วมมือในระดับสากล Web link: ... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้งความเป็นพลเมืองโลกและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมผ่านกิจกรรมความร่วมมือในระดับนานาชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 18 พ.ค. - 1 มิ.ย. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: มาเลเซีย กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาไทยเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: กิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาระยะสั้น หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: School of Pharmacy, Taylor's University จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 1 ผลลัพธ์: นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและศักยภาพผ่านความร่วมมือในระดับสากล Web link: ... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: โครงการปฐมนิเทศการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชศาสตร์สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 วัตถุประสงค์: เพื่อสานความสัมพันธ์ ความรัก และเป็นการส่งกำลังใจเชิงสัญลักษณ์จากคณาจารย์ไปยังนักศึกษาทุกคน ตลอดจนช่วยกระตุ้นการสร้างจิตสำนึกของการเป็นเภสัชกรที่ดีในอนาคต เวลาที่จัดกิจกรรม: 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 รูปแบบจัดกิจกรรม: กิจกรรม หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 300 คน ผลลัพธ์: การส่งกำลังใจเชิงสัญลักษณ์จากคณาจารย์ไปยังนักศึกษาทุกคน ตลอดจนช่วยกระตุ้นการสร้างจิตสำนึกของการเป็นเภสัชกรที่ดีในอนาคต Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2489 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 1,4,8 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้งความเป็นพลเมืองโลกและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมผ่านกิจกรรมความร่วมมือในระดับนานาชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 16-29 มิ.ย. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: ญี่ปุ่น กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาไทยเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: กิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาระยะสั้น หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ASEAN Mobility 2019: Osaka University จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 3 ผลลัพธ์: นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและศักยภาพผ่านความร่วมมือในระดับสากล Web link: https://op.mahidol.ac.th/ir/2019/06/mu-asean3-mobility-program-2019/ https://op.mahidol.ac.th/ir/2019/06/mu-a... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรมให้แก่นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 17 มิ.ย. - 26 ก.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: ไทย (คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล) กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเภสัชกรรมคลินิก หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: College of Pharmacy, University of Kentucky จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 3 ผลลัพธ์: ความเป็นเลิศทางวิชาการและภาพลักษณ์ของคณะฯ เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activities/2535 https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาชีวเคมีทางเภสัชศาสตร์ ให้แก่นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 24 มิ.ย. - 20 ก.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: ไทย (คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล) กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกอบรมทางวิชาชีพ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Faculty of Pharmacy, University of Santo Tomas จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 3 ผลลัพธ์: 1) ความเป็นเลิศทางวิชาการและภาพลักษณ์ของคณะฯ เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล 2) นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและศักยภาพผ่านความร่วมมือในระดับสากล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activities/2526 https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเศรษฐศาสตร์สุขภาพให้แก่นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 1-31 ก.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: ไทย (คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล) กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกอบรมทางวิชาชีพ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: University of Chicago จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 1 ผลลัพธ์: ความเป็นเลิศทางวิชาการและภาพลักษณ์ของคณะฯ เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activities/2540 https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักศึกษาไทยกับนักศึกษาต่างชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 8-22 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยน รูปแบบจัดกิจกรรม: อบรม หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: งานวิเทศและประชาสัมพันธ์ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 13 คน ผลลัพธ์: - Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2521 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้งความเป็นพลเมืองโลกและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมผ่านกิจกรรมความร่วมมือในระดับนานาชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 8-19 ก.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: ไทย (คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล) กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ รูปแบบจัดกิจกรรม: กิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาระยะสั้น หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: School of Medicine and Pharmacy, Vietnam National University จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 6 ผลลัพธ์: 1) ความเป็นเลิศทางวิชาการและภาพลักษณ์ของคณะฯ เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล 2) นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและศักยภาพผ่านความร่วมมือในระดับสากล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activities/2525 https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้งความเป็นพลเมืองโลกและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมผ่านกิจกรรมความร่วมมือในระดับนานาชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 8-19 ก.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: ไทย (คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล) กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ รูปแบบจัดกิจกรรม: กิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาระยะสั้น หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Faculty of Pharmacy, Universiti Kebangsaan Malaysia จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 5 ผลลัพธ์: 1) ความเป็นเลิศทางวิชาการและภาพลักษณ์ของคณะฯ เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล 2) นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและศักยภาพผ่านความร่วมมือในระดับสากล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activities/2525 https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้งความเป็นพลเมืองโลกและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมผ่านกิจกรรมความร่วมมือในระดับนานาชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 8-19 ก.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: ไทย (คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล) กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ รูปแบบจัดกิจกรรม: กิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาระยะสั้น หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Hanoi University of Pharmacy จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 2 ผลลัพธ์: 1) ความเป็นเลิศทางวิชาการและภาพลักษณ์ของคณะฯ เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล 2) นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและศักยภาพผ่านความร่วมมือในระดับสากล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activities/2525 https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้งความเป็นพลเมืองโลกและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมผ่านกิจกรรมความร่วมมือในระดับนานาชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 15-26 ก.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: มาเลเซีย กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาไทยเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: กิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาระยะสั้น หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Faculty of Pharmacy, Universiti Kebangsaan Malaysia จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 2 ผลลัพธ์: นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและศักยภาพผ่านความร่วมมือในระดับสากล Web link: ... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักศึกษาไทยกับนักศึกษาต่างชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 8-19 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยน รูปแบบจัดกิจกรรม: อบรม หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: งานวิเทศและประชาสัมพันธ์ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 30 คน ผลลัพธ์: เป็นกิจกรรมการนำเสนอผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประกอบด้วย สรุปผลการศึกษา การนำเสนอเปรียบเทียบระบบสาธารณสุขของประเทศเวียดนามและมาเลเซีย Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2525 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชศาสตร์และเทคโนโลยีให้แก่นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 22 ก.ค. - 12 ส.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: ไทย (คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล) กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Graduate School and Faculty of Pharmaceutical Sciences, Kyushu University จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 2 ผลลัพธ์: 1) ความเป็นเลิศทางวิชาการและภาพลักษณ์ของคณะฯ เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล 2) นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและศักยภาพผ่านความร่วมมือในระดับสากล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activities/2550 https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้งความเป็นพลเมืองโลกและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมผ่านกิจกรรมความร่วมมือในระดับนานาชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 25 ก.ค. - 13 ส.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: เกาหลีใต้ กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาไทยเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: กิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาระยะสั้น หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ASEAN Mobility 2019: Pusan National University จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 3 ผลลัพธ์: นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและศักยภาพผ่านความร่วมมือในระดับสากล Web link: https://op.mahidol.ac.th/ir/2019/06/mu-asean3-mobility-program-2019/ https://op.mahidol.ac.th/ir/2019/06/mu-a... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาชาวไทยและชาวต่างชาติได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้งความเป็นพลเมืองโลกและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมผ่านกิจกรรมความร่วมมือในระดับนานาชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 29 ก.ค. - 9 ส.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: จีน กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาไทยเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: กิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาระยะสั้น หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ASEAN Mobility 2019: Yunan University จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 5 ผลลัพธ์: นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและศักยภาพผ่านความร่วมมือในระดับสากล Web link: https://op.mahidol.ac.th/ir/2019/06/mu-asean3-mobility-program-2019/ https://op.mahidol.ac.th/ir/2019/06/mu-a... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชศาสตร์และเทคโนโลยีให้แก่นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล ผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในต่างประเทศ เวลาที่จัดกิจกรรม: 5 ส.ค. - 28 ต.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: เช็ก กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาไทยเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Mendel University in Brno จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 2 ผลลัพธ์: นักศึกษาชาวไทยได้ม๊โอกาสพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ ทักษะทางสังคม และศักยภาพผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและความร่วมมือในระดับสากล Web link: ... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรมให้แก่นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 16 ก.ย. - 18 ต.ค. 62 สถานที่จัดกิจกรรม: ไทย (คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล) กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาแลกเปลี่ยนต่างชาติ รูปแบบจัดกิจกรรม: การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเภสัชกรรมคลินิก หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: College of Pharmacy, University of Arizona จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 2 ผลลัพธ์: ความเป็นเลิศทางวิชาการและภาพลักษณ์ของคณะฯ เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activities/2579 https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: เป็นการสนับสนุนยุทธศาสตร์ที่ 3: Excellence in professional services and social engagement รวมถึงเป็นการประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยมหิดลให้เป็นที่รู้จักแก่บุคคลภายนอก วัตถุประสงค์: เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง ประชาชนทั่วไปได้ รู้จักคณะต่างๆ และสนใจเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย สร้างความสุขจากการเข้าสู่บ้านมหิดล รู้จักมหาวิทยาลัยมหิดลในสาขาวิชาที่หลากหลาย อีกทั้งเป็นการสร้างความรักความผูกพันในการทำงานร่วมกันระหว่างนักศึกษา อาจารย์ เจ้าหน้าที่ทั่วทุกส่วนงาน เพื่อเสริมสร้างทักษะการทำงานร่วมกันระหว่างบุคลากรของมหาวิทยาลัยมหิดลให้บรรลุตามเป้าหมายของมหาวิทยาลัยมหิดล เวลาที่จัดกิจกรรม: 1-2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา กลุ่มเป้าหมาย: นักเรียน ผู้ปกครอง ประชาชนทั่ว รูปแบบจัดกิจกรรม: นิทรรศการ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 200 คน ผลลัพธ์: มหาวิทยาลัยมหิดลให้เป็นที่รู้จักแก่บุคคลภายนอก และยังเป็นการส่งเสริมให้บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดลทุกส่วนงานได้จัดกิจกรรมร่วมกัน ซึ่งจะก่อให้เกิดความภาคภูมิใจและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันนั้น Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2615 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,15 |
ที่มา/ความสำคัญ: วิชาเลือกเสรีของภาควิชาเภสัชวินิจฉัย (Pharmacognosy Elective Subjects Festival 2019) ภายใต้โครงการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง (Transformative Learning) สำหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ วัตถุประสงค์: เพื่อให้นักศึกษาได้วางแผนและเรียนรู้การทำงานร่วมกับผู้อื่น สามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการทำงานและการดำเนินชีวิต ตลอดจนทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวมและประเทศชาติ เวลาที่จัดกิจกรรม: 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล รูปแบบจัดกิจกรรม: นิทรรศการ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 80 คน ผลลัพธ์: การพัฒนาการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง (Transformative Learning) สำหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2616 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,15 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลสำหรับการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการสำหรับนักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากร เวลาที่จัดกิจกรรม: วันจันทร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2563 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษา คณาจารย์ บุคลากร และประชาชนทั่วไป รูปแบบจัดกิจกรรม: รับมอบตำรา หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดเคมซอร์จส์,ศิษย์เก่าคณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: คณะ ฯ ได้รับตำราเพื่อให้นักศึกษา คณาจารย์ บุคลากร และประชาชนทั่วไป ได้ค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการ Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2813 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4,10 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายได้รู้จักหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัยมหิดล ตลอดจนรับทราบข้อมูลสำคัญในการเตรียมตัวเข้าศึกษาและได้รับรู้ถึงประสบการณ์การเรียนและการใช้ชีวิตในคณะฯ ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาให้แก่นักเรียนและผู้ที่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตรระดับปริญญาตรี เวลาที่จัดกิจกรรม: วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต/นักศึกษาระดับปริญญาตรี เภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: สนทนาและถ่ายทอดสดผ่าน YouTube Live หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: สโมสรนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: กิจกรรม MUPY Open House 2020 เป็นหนึ่งในโครงการ ’งานมหิดลวิชาการ ประจำปี 2563’ เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ ’Policy Advocacy and Leaders in Professional / Academic Services’ รวมถึงเป็นการประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยมหิดลให้เป็นที่รู้จักแก่บุคคลภายนอก Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2833 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4,8 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อแนะแนวทางการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ในคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เวลาที่จัดกิจกรรม: วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2563 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักเรียนระดับมัธยมปลาย รูปแบบจัดกิจกรรม: อบรมสัมมนา หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: กองบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายได้มีโอกาสรับฟังการแนะแนวทางการศึกษาต่อคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2848 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4,8 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาด้าน Become an Effective Pharmacy Preceptor’ เวลาที่จัดกิจกรรม: วันเสาร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2563 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: เภสัชกรและบุคลากรด้านสาธารณสุข รูปแบบจัดกิจกรรม: ระบบออนไลน์ (ระบบ Zoom) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Faculty of Pharmacy, Universitas Padjadjaran ประเทศอินโดนีเซีย จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: ผู้เข้าร่วมการสัมนา ได้รับความรู้และทักษะเกี่ยวกับ ’Become an Effective Pharmacy Preceptor และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2851 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4,8 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อแบ่งปันประสบการณ์การใช้ชีวิตหลังสำเร็จการศึกษา การทำงานในยุคปัจจุบัน และการศึกษาต่อในต่างประเทศ ให้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีได้มีโอกาสเปิดโลกทัศน์และมุมมองใหม่ๆ ในการดำเนินชีวิต เตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานในวิชาชีพเภสัชกรรมในอนาคต นอกจากนี้ กิจกรรมดังกล่าวยังช่วยเสริมสร้างทักษะดิจิทัลและทักษะทางวัฒนธรรมในระดับนานาชาติและความตระหนักในการเป็นพลเมืองโลก เพื่อการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติสุข เวลาที่จัดกิจกรรม: วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: ระบบออไลน์ (ระบบ Cisco Webex) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ชมรมศิษย์เก่าเภสัชมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: นักศึกษามีมุมมองใหม่ๆ ในการดำเนินชีวิต เตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานในวิชาชีพเภสัชกรรมในอนาคต นอกจากนี้ กิจกรรมดังกล่าวยังช่วยเสริมสร้างทักษะดิจิทัลและทักษะทางวัฒนธรรมในระดับนานาชาติและความตระหนักในการเป็นพลเมืองโลก เพื่อการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติสุข Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2861 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4,11 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาโรค การดูแลผู้ป่วย และการใช้ยา เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขและเพิ่มพูนทักษะกระบวนการทำงานเป็นทีม รวมทั้งการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการพัฒนางานการแพทย์และสาธารณสุขให้กับบุคลากรทางเภสัชศาสตร์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เวลาที่จัดกิจกรรม: วันจันทร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: เภสัชกรและบุคลากรด้านสาธารณสุข รูปแบบจัดกิจกรรม: ระบบออนไลน์ (ระบบ Zoom Meeting) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำนักพระราชวัง ร่วมกับ กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ และ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: ปฐมนิเทศผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรเภสัชศาสตร์ การแนะนำหลักสูตรเภสัชศาสตร์ Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2862 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4,11 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการฝึกอบรมทางวิชาชีพเภสัชกรรมให้แก่นักศึกษาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวคิดและประสบการณ์ทางด้านวิชาชีพกับนักศึกษาและอาจารย์จากมหาวิทยาลัยในภูมิภาคอาเซียนผ่านความร่วมมือในระดับนานาชาติ ตลอดจนเพื่อพัฒนาความสัมพันธ์อันดีและเสริมสร้างความเข้าใจด้านความหลากหลายทางภาษา สังคม และวัฒนธรรมกับนักศึกษาและอาจารย์จากมหาวิทยาลัยในภูมิภาคอาเซียน เวลาที่จัดกิจกรรม: วันอังคารที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: ระบบออนไลน์ (ระบบ Zoom Meeting) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Faculty of Pharmacy, University of Santo Tomas ประเทศฟิลิปปินส์ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: เกิดการหารือโอกาสและความร่วมมือทางวิชาการในการจัดกิจกรรมและโครงการฝึกอบรมและแลกเปลี่ยนนักศึกษาระดับปริญญาตรี และเพื่อพัฒนาศักยภาพทางด้านวิชาการทักษะทางภาษาอังกฤษและทักษะทางสังคมของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2864 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงของนักศึกษา โดยการอาศัยปัญหาที่ตนเองต้องพบเจอเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ นอกจากนี้ โครงการยังต้องการสร้างความตระหนักรู้ให้กับนักศึกษาถึงกระบวนการเรียนรู้สู่เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตนเองอีกด้วย เวลาที่จัดกิจกรรม: เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: เภสัชกรและบุคลากรด้านสาธารณสุข รูปแบบจัดกิจกรรม: โครงการ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: กองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: โครงการประกอบด้วยกิจกรรม อาทิ กิจกรรม World Cafe สานเสวนาในประเด็นที่ต้องการองค์ความรู้ร่วม (Collective Knowledge) กิจกรรม Design Thinking Short Course และกิจกรรมสะท้อนคิดเพื่อสรุปการเรียนรู้ของบทเรียน เป็นต้น Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2885 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: โครงการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงของนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยมุ่งหวังที่จะเป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ให้นักศึกษาได้ทดลองและทดสอบในบรรยากาศของความไว้วางใจ เกิดความรู้สึกปลอดภัยที่จะแสดงออกถึงโมเดลความคิด (mental model) และความคิดฝังลึก (tacit knowledge) อภิปรายพูดคุยกันอย่างสุนทรียสนทนา (dialogue) เพื่อท้าทายกรอบความคิดเดิมสู่การเรียนรู้และการเปลี่ยนแปลงใหม่ โดยมีผู้อำนวยการเรียนรู้ (facilitator) ช่วยกระตุ้นการสะท้อนคิดสนับสนุนการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เวลาที่จัดกิจกรรม: วันเสาร์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: อาคารศููนย์การเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาระดับปริญญาตรีเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: จัดโครงการ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: บริษัท เบอริงเกอร์ อินเกลไฮม์ (ไทย) จำกัด จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: ผู้เข้าร่วมโครงการทัความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงของนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยมุ่งหวังที่จะเป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ให้นักศึกษาได้ทดลองและทดสอบ Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2902 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้สนใจทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศที่สนใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกที่คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล ได้รับทราบข้อมูลและรายละเอียดหลักสูตรต่างๆ ทุนการศึกษา และร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การศึกษาจากศิษย์ปัจจุบัน เวลาที่จัดกิจกรรม: วันที่ 1-2 เมษายน พ.ศ. 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: ระบบออนไลน์ (ระบบ Cisco Webex ) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: ได้รับเกียรติจากประธานหลักสูตรและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นผู้ให้ข้อมูลและแนะนำรายละเอียดของหลักสูตร Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2908 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: โครงการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสฝึกฝนทักษะการสัมภาษณ์ ซักประวัติ และให้คำปรึกษาด้านยาแก่ผู้ป่วย และนำความรู้ทางด้านวิชาชีพเภสัชกรรมมาประยุกต์ใช้ในการตอบคำถามทางเภสัชกรรม รวมทั้งยังได้เตรียมความพร้อมทางด้านวิชาการสำหรับการสอบใบประกอบวิชาชีพในอนาคตอีกด้วย เวลาที่จัดกิจกรรม: เวันพุธที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: โครงการ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: สโมสรนักศึกษาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: กิจกรรมย่อย ได้แก่ 1) การแข่งขันซักประวัติและให้คำปรึกษาทางเภสัชกรรม (The Patient Counseling Event, PCE) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 และ 5 และ 2) การแข่งขันตอบคำถามทางวิชาการ (Pharma Quiz) สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 2-4 Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2898 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อเป็นเวทีวิชาการสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 และร่วมกันเสริมสร้างเครือข่ายนักวิจัยถ่ายทอดแนวคิดและระเบียบวิธีการวิจัย โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้วยกระบวนการการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง (Transformative Learning) ในหัวข้อ ’P‘MUPY Guide How to Survive: รู้อะไรให้รอด รู้อะไรแล้วไม่ต้องมาเสียดายทีหลัง จนต้องพูดว่า..รู้งี้!’ เวลาที่จัดกิจกรรม: วันเสาร์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: ระบบออนไลน์ (Zoom Meeting) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีการพัฒนาการเรียนรู้ที่มีอยู่ในปัจจุบันเป็นการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง (Transformative Learning) Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2930 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: วัตถุประสงค์เพื่อชี้แจงรายละเอียด ให้คำปรึกษา และแนะนำการเลือกสาขาวิชาชีพในปีที่ 5 ซึ่งมี 2 สาขา ได้แก่ สาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม และ สาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ รวมทั้งให้ข้อมูลเกี่ยวกับรายวิชาและการจัดการเรียนการสอนในชั้นปีที่ 5 เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกสาขาวิชาชีพของนักศึกษา ชั้นปีที่ 4 ให้สอดคล้องกับความต้องการของนักศึกษามากยิ่งขึ้น ภายหลังจากที่นักศึกษาได้ทำแบบประเมินความถนัดทางเภสัชกรรมในสาขาต่างๆ ของ AphA Career Pathway แล้ว เวลาที่จัดกิจกรรม: วันที่ 20 พฤษภาคม 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: ระบบออนไลน์ (Zoom Meeting) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 มีความเข้าใจและมีข้อมูลประกอบเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการเลือกสาขาเพื่อให้มีตรงตามความต้องการของผู้เรียน Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2938 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อร่วมพูดคุยกับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และรุ่นพี่นักศึกษาชั้นปีที่ 2-6 รวมทั้งร่วมพูดคุยแนะนำแนวทางในการปรับตัวของนักศึกษาเข้าสู่การศึกษาผ่านระบบออนไลน์ และแนะนำการวางแผนการศึกษาในอนาคต เวลาที่จัดกิจกรรม: วันอาทิตย์ที่ 4 กรกฏาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: ระบบออนไลน์ (Cisco Webex Meetings ) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: สโมสรนักศึกษาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการแลกเปลี่ยนแนวทางในการปรับตัวของนักศึกษาเข้าสู่การศึกษาผ่านระบบออนไลน์ และแนะนำการวางแผนการศึกษาในอนาคต Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2971 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อบรรยายพิเศษในหัวข้อ Extended cost-effectiveness analysis: Method for incorporating equity into economic evaluation จัดโดย หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ (MU-HTA) เวลาที่จัดกิจกรรม: วันจันทร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และผู้สนใจทั่วไป รูปแบบจัดกิจกรรม: ระบบออนไลน์ (Zoom Meetings) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: College of Pharmacy, University of Utah ประเทศสหรัฐอเมริกา จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: เป็นการบรรยายพิเศษในหัวข้อ Extended cost-effectiveness analysis: Method for incorporating equity into economic evaluation Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2969 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมของประเทศฟิลิปปินส์ รวมทั้งเพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษและทักษะการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมในระดับนานาชาติให้แก่นักศึกษา เวลาที่จัดกิจกรรม: วันอังคารที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาเภสัชศาสตร์/นักศึกษาแลกเปลี่ยน รูปแบบจัดกิจกรรม: ระบบออนไลน์ (Zoom Meetings) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Faculty of Pharmacy, University of Santo Tomas ประเทศฟิลิปปินส์ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: มุ่งหวังให้เกิดความตระหนักในความแตกต่างทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของชนชาติต่างๆ อันจะนำไปสู่การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเป็นพลเมืองโลกยังเป็นการส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการและความเป็นนานาชาติของมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการ Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2973 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อจัดฝึกอบรมในด้านชีวเคมีทางเภสัชศาสตร์ให้แก่นักศึกษาแลกเปลี่ยน สาขาชีวเคมี อันเป็นการตอบสนองต่อการพัฒนาความเป็นนานาชาติของคณะฯ ผ่านความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยคู่ความร่วมมือในต่างประเทศ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์และความเป็นเลิศทางวิชาการของคณะฯ ให้เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล และสนับสนุนให้คณาจารย์และนักศึกษาได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ รวมทั้งวัฒนธรรมผ่านความร่วมมือในระดับสากล เวลาที่จัดกิจกรรม: วันศุกร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาสาขาวิชาชีวเคมี รูปแบบจัดกิจกรรม: ระบบออนไลน์ (Cisco Webex Meetings ) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Faculty of Pharmacy, University of Santo Tomas ประเทศฟิลิปปินส์ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: นำเสนอผลการเรียนรู้และฝึกอบรมจากการเข้าร่วมโครงการดังกล่าว การมอบเกียรติบัตร (Certificate of Completion) ผ่านระบบออนไลน์ การนำเสนอบทสรุปของโครงการโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.จิระพรรณ จิตติคุณ การนำเสนอผลงานทางวิชาการของนักศึกษาทั้ง 5 กลุ่ม Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2975 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
หัวข้อการจัดประชุม: Basic and Applied Studies of Plant Natural Products for Agriculture and Human Health ที่มา/ความสำคัญ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้มีการลงนามข้อตกลงความร่วมมือกับ Kyoto Prefectural University ประเทศญี่ปุ่น ในด้านความร่วมมือแลกเปลี่ยนทางวิชาการ (Academic Exchange Agreement) ทั้งด้านการศึกษาและวิจัยของคณาจารย์และนักศึกษาของทั้งสองมหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์: เพื่อเป็นกิจกรรมภายใต้ความร่วมมือและแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการและผลงานวิจัยระหว่างสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่นอีก 6 แห่ง เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ กระชับความสัมพันธ์ของบุคลากรระหว่างสถาบัน นอกจากนี้ยังช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและญี่ปุ่นสู่เวทีโลกและเป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล ส่งเสริมให้นักศึกษาและคณาจารย์มีโอกาสในการขยายขอบเขตของความคิด สามารถแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ผ่านความร่วมมือในระดับนานาชาติ เวลาที่จัดชุม: วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2562 สถานที่จัดประชุม: มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: 7 คน บทบาทของคณะฯ: ผู้ร่วมจัดงาน ผลลัพธ์: ความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาไทยและญี่ปุ่น ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: จำนวนผลงานที่นำเสนอแบบปากเปล่า 2 เรื่อง Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2578 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4,17 |
หัวข้อการจัดประชุม: Exploring the local wisdom for advanced pharmacy education and research ที่มา/ความสำคัญ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นถึงความสำคัญในการสร้างความร่วมมือในระดับนานาชาติ เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและการเรียนการสอนด้านเภสัชศาสตร์ในระดับภูมิภาคมาอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดการประชุมวิชาการในระดับสากลขึ้น เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการด้านเภสัชศาสตร์ในทุกสาขาระหว่างเภสัชกรและนักวิจัยทางเภสัชศาสตร์ในหมู่ประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศอื่นๆ ในเอเชีย และคาดว่าจะมีผู้เข้าร่วมประชุมจากในประเทศและกว่า 15 ประเทศในแถบเอเชีย รวมทั้งมีการเชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นผู้นำวิชาการในระดับโลกและภูมิภาคมาร่วมงานเพื่อเปิดโอกาสในการสร้างเครือข่ายวิชาการที่เข้มแข็งและแสดงศักยภาพของคณาจารย์และนักศึกษาเภสัชศาสตร์ของคณะฯ สู่สายตาของนักวิชาการเหล่านั้นและผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการจากหลายประเทศในแถบเอเชีย เพื่อส่งเสริมผลงานและภาพลักษณ์ของคณะฯ ในการเป็นสถาบันการศึกษาด้านเภสัชศาสตร์ชั้นนำแห่งเอเชีย วัตถุประสงค์: เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการด้านเภสัชศาสตร์ในทุกสาขาระหว่างเภสัชกรและนักวิจัยทางเภสัชศาสตร์ในหมู่ประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศอื่นๆ ในเอเชีย เวลาที่จัดชุม: วันที่ 14-15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 สถานที่จัดประชุม: Royal Ambarrukmo Hotel เมืองยอกยาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: 15 คน บทบาทของคณะฯ: ผู้ร่วมจัดงาน ผลลัพธ์: โอกาสในการสร้างเครือข่ายวิชาการที่เข้มแข็งและแสดงศักยภาพของคณาจารย์และนักศึกษาเภสัชศาสตร์ของคณะฯ สู่สายตาของนักวิชาการเหล่านั้นและผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการจากหลายประเทศในแถบเอเชีย เพื่อส่งเสริมผลงานและภาพลักษณ์ของคณะฯ ในการเป็นสถาบันการศึกษาด้านเภสัชศาสตร์ชั้นนำแห่งเอเชีย ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: จำนวนผลงาน 8 Poster Web link: https://conference.farmasi.ugm.ac.id/#:~:text=Aiming%20to%20facilitate... https://conference.farmasi.ugm.ac.id/#:~... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,4,17 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้บริหารและคณาจารย์จากสถาบันอุดมศึกษาในประเทศต่างๆ อาทิ Airlangga University ประเทศอินโดนีเซีย Monash University ประเทศออสเตรเลีย Queen’s University of Belfast สหราชอาณาจักร และ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าทางวิชาการ ประสบการณ์ และแนวทางการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนของสถาบันอุดมศึกษาในช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นอกจากนี้ ยังเปิดโอกาสให้นักวิจัยและนักศึกษาได้มีโอกาสเผยแพร่ผลงานวิจัย จำนวน 5 สาขา และสร้างเครือข่ายทางวิชาการในระดับสากลอีกด้วย เวลาที่จัดชุม: เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เวลา 13.00-16.00 น. สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Faculty of Pharmacy, Airlangga University จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: ผู้เข้าร่วมประชุมมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าทางวิชาการ ประสบการณ์ และแนวทางการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนของสถาบันอุดมศึกษาในช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2819 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับ การเข้ารับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรตามเกณฑ์ MU AUN-QA หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต ระดับปริญญาตรี เวลาที่จัดชุม: วันพุธที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 256 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: เป็นการเตรียมความพร้อมสำหรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรตามเกณฑ์ MU AUN-QA หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตของคณะฯ ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2825 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนและนำเสนอ (Showcase) ผลงาน ความเชี่ยวชาญ และความเป็นเลิศด้านการวิจัยของคณะฯ รวมทั้งสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในเวทีระดับนานาชาติ เวลาที่จัดชุม: วันพุธที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2563 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Faculty of Pharmacy, Universiti Teknologi Mara (UiTM) ประเทศมาเลเซีย จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: องศาสตราจารย์ ดร.ภญ.ดวงดาว ฉันทศาสตร์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม เป็นผู้แทนคณะฯ เข้าร่วมนำเสนอช่วง Combined Session ในหัวข้อ Research at the Faculty of Pharmacy, Mahidol University นอกจากนี้ ยังได้ร่วมการประชุมและนำเสนอผลงานช่วง Concerrent Session ในสาขาความเชี่ยวชาญต่างๆ ดังนี้ 1. รองศาสตราจารย์ ภก.สุรกิจ นาทีสุวรรณ นำเสนอในสาขา Pharmacy Practice 2. ศาสตราจารย์ ดร.ภญ.ลีณา สุนทรสุข นำเสนอในสาขา Chemistry 3. รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.ดวงดาว ฉันทศาสตร์ นำเสนอในสาขา Pharmaceutics 4. รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.วิลาสินี หิรัญพานิช ซาโตะ นำเสนอในสาขา Pharmacology 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.จิระพรรณ จิตติคุณ นำเสนอในสาขา Life Sciences ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2838 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ’เภสัชพันธุศาสตร์เพื่อการใช้ยาสมเหตุผลในประเทศไทย’มีวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ คือ 1) เพื่อสรุปผลการวิจัย และกำหนดแนวทางในการใช้ประโยชน์ของโครงการวิจัยในอนาคต สำหรับการนำไปต่อยอดและใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม 2) เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ด้านเภสัชพันธุศาสตร์เพื่อการใช้ยาสมเหตุผล รวมทั้งแนวปฏิบัติและมาตรฐานที่ชัดเจน สำหรับการจัดการดูแลผู้ป่วยให้แก่เภสัชกร และบุคลากรทางการแพทย์ที่สนใจ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม และ 3) เพื่อประชาสัมพันธ์ผลการวิจัยแก่สื่อมวลชน และสาธารณชน ให้เป็นที่รับทราบในวงกว้างตามข้อกำหนดของโครงการวิจัย ซึ่งเป็นการบูรณาการองค์ความรู้ทางเภสัชพันธุศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานทางเภสัชกรรมคลินิก และเชื่อมโยงกับระบบการจัดการและดูแลสุขภาพของผู้ป่วย เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ และเป็นต้นแบบในประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางเภสัชพันธุศาสตร์สำหรับการพัฒนาระบบสาธารณสุขไทย เพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล รวมทั้งเป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงานสำหรับเภสัชกรวิชาชีพและบุคลากรทางสาธารณสุขต่อไป เวลาที่จัดชุม: วันอังคารที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2563 สถานที่จัดประชุม: โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และ กองการแพทย์จีโนมิกส์และสนับสนุนนวัตกรรม กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: การประชุมเชิงปฏิบัติการ เป็นการบรรยายพิเศษโดยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน ได้แก่ 1) นายแพทย์นพพร ชื่นกลิ่น ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ให้เกียรติบรรยายในหัวข้อ ’ทิศทางของแหล่งทุนที่สนับสนุนงานวิจัยด้านจีโนมิกส์’ 2) ดร.นพ.สุรัคเมธ มหาศิริมงคล ผู้อำนวยการกองการแพทย์จีโนมิกส์และสนับสนุนนวัตกรรม กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ให้เกียรติบรรยายในหัวข้อ ’บทบาทของเภสัชพันธุศาสตร์เพื่อการใช้ยาสมเหตุผลในประเทศไทย’ และ 3) ศาสตราจารย์ ดร.นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ให้เกียรติบรรยายในหัวข้อ ’นโยบายและแนวทางส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผลในประเทศไทย’ ด้วย นอกจากนี้ คณะผู้จัดการประชุมยังได้จัดการแถลงข่าว เรื่อง ’เภสัชพันธุศาสตร์กับแนวปฏิบัติการตรวจพันธุกรรม สู่การพัฒนาระบบสุขภาพ เพื่อคุณภาพชีวิตคนไทย มีความปลอดภัยในการรักษา อีกหนึ่งแนวทางการใช้ยาสมเหตุผล และส่งเสริมระบบสุขภาพยั่งยืน’ โดยมีสื่อมวลชนให้ความสนใจเข้าร่วมการแถลงข่าวจำนวนมาก [อ่านแถลงข่าวที่นี่: https://docs.google.com/viewer?url=https://pharmacy.mahidol.ac.th/docs/dl.php?to=MTEwODA=] กิจกรรมในช่วงบ่าย ประกอบด้วย 2 กิจกรรม ได้แก่ 1) การประชุมทีมวิจัย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อหารือและรับข้อเสนอแนะสำหรับโครงการวิจัยดังกล่าว และ 2) การประชุมเชิงปฏิบัติการสำหรับเภสัชกรและบุคลากรสาธารณสุข ซึ่งเป็นการบรรยายและฝึกอบรม จำนวน 3 หัวข้อ ได้แก่ หลักการและการประยุกต์เภสัชพันธุศาสตร์คลินิก แนวทางตรวจยีนสำหรับยา carbamazepine และ แนวทางตรวจยีนสำหรับยา allopurinol โดยได้รับเกียรติจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภก.ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์ และ อาจารย์ ดร.ภญ.ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์ เป็นวิทยากร ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2847 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: การฝึกอบรมในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขด้านเศรษฐศาสตร์ของการใช้วัคซีน โดยการสร้างเสริมศักยภาพในการประยุกต์หลักเศรษฐศาสตร์เข้ากับการบริหารจัดการการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแห่งชาติ โดยโครงการดังกล่าวได้เริ่มดำเนินการตั้งแต่ ปี 2560 และมีข้อตกลงให้มีศูนย์ฝึกอบรม ซึ่งดำเนินการโดยสถาบันการศึกษาประจำอยู่ในแต่ละภูมิภาค โดยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกมีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการ เวลาที่จัดชุม: วันที่ 17-19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Johns Hopkins Bloomberg School of Public Health (JHSPH), John Hopkins University ประเทศสหรัฐอเมริกา จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: โดยในโครงการฝึกอบรมดังกล่าวมีกิจกรรมการบรรยายใน 4 หัวข้อหลัก ได้แก่ 1) Vaccine Economics in Health Systems 2) Costing of Immunization Programs 3) Economic Evaluation of Vaccines and Immunization Programs และ 4) Applying Economics to Vaccination Program Locally ซึ่งได้รับเกียรติจากวิทยากรหลายท่าน อาทิ คณาจารย์จากสาขาวิชาเภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร ภาควิชาเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยากรชาวต่างประเทศจาก Johns Hopkins Bloomberg School of Public Health (JHSPH) รวมทั้งนักวิชาการและผู้บริหารของหน่วยงานในระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับการใช้วัคซีนอีกด้วย ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2871 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อถ่ายทอดข้อมูลที่สำคัญและทันสมัย และช่วยส่งเสริมเภสัชกรวิชาชีพและบุคลากรทางการแพทย์ได้มีความเข้าใจ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติ และเป็นประโยชน์ให้เกิดผลการรักษาแก่ผู้ป่วยตามที่คาดหวังและปลอดภัย เวลาที่จัดชุม: วันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: 1) บริษัท เบอริงเกอร์ อินเกลไฮม์ (ไทย) จำกัด 2) บริษัท โนโว นอร์ดิสค์ ฟาร์มา (ประเทศไทย) จำกัด 3) บริษัท ไฟเซอร์ (ประเทศไทย) จำกัด 4) บริษัท เอ เมนารินี (ประเทศไทย) จำกัด 5) บริษัท ซาโนฟี่-อเวนตีส (ประเทศไทย) จำกัด 6) บริษัท ไทยโอซูก้า จำกัด 7) บริษัท บี.เอ็ล.ฮั้ว จำกัด และ 8) บริษัท เซอร์เวียร์ (ประเทศไทย) จำกัด จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: การประชุมวิชาการดังกล่าวยังถือเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ ’ร่วมรำลึกและสืบสานปณิธาน 100 ปีชาตกาล อาจารย์ประดิษฐ์ หุตางกูร (ผู้ก่อตั้งคณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล)’ โดยในการประชุมวิชาการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการประชุมมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของฉลากยาและการใช้ยา รวมทั้งคำเตือนชนิด black box warnings ในการรักษาโรคกลุ่มต่างๆ รวมถึงประเด็นความปลอดภัยที่สำคัญของยาในโรคที่พบบ่อย เพื่อนำมาประกอบการตัดสินใจใช้ยาได้อย่างสมเหตุผลและปลอดภัย ตลอดจนสามารถจัดการ ติดตาม และเฝ้าระวังผู้ป่วยอย่างเหมาะสม เนื่องจากความปลอดภัยในการใช้ยานั้นนับเป็นหัวใจสำคัญของการบริบาลทางเภสัชกรรม การทราบข้อมูลด้านความปลอดภัยที่สำคัญของยา รวมทั้งกระบวนการทางเภสัชจลนศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ทำให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถตัดสินใจการรักษาบนพื้นฐานของความเสี่ยง และประโยชน์ที่ผู้ป่วยแต่ละรายจะได้รับ โ ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2872 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อหารือโอกาสในการพัฒนาความร่วมมือด้านการวิจัยระหว่าง 2 ส่วนงาน เช่น การผสมผสานกันระหว่าง in silico modeling และ artificial intelligence (AI) มาใช้ในกระบวนการ drug discovery การร่วมมือกันวิจัย drug delivery system ที่ทันสมัย การผลิตสินค้ามูลค่าสูงโดยนำวัสดุเหลือใช้จากอุตสาหกรรมมาทำเป็นส่วนประกอบของยาโดยร่วมมือกับภาคเอกชน รวมไปถึงการผสมผสานความรู้ด้านกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตยา เวลาที่จัดชุม: วันพุธที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: การประชุมดังกล่าว ผู้เข้าร่วมประชุมจากทั้งสองหน่วยงานได้หารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน เพื่อพัฒนาความร่วมมือระหว่างสองหน่วยงาน โดยโอกาสในการร่วมมือนั้นมีหลายด้าน หลังจากนั้น คณาจารย์จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้เข้าชมห้องปฏิบัติการและเครื่องมือวิทยาศาสตร์ต่างๆ ของคณะฯ โดยมีการนำชมเครื่องมือวิทยาศาสตร์ในหน่วยวิจัยกลาง ,ชมห้องปฏิบัติการและเครื่องมือด้านอุตสาหกรรมของภาควิชาเภสัชอุตสาหกรรม ,ชมศูนย์ทดสอบเครื่องสำอางและเภสัชภัณฑ์ทางผิวหนัง เพื่อแสดงถึงศักยภาพด้านการวิจัยที่คณะฯ มีและอาจเป็นประโยชน์ต่อการทำงานร่วมกันกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลต่อไป ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2882 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ ประสบการณ์ทางวิชาชีพ และผลงานวิจัยในสาขาเภสัชศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ และชีวเคมี ระหว่างนักวิชาการและนักวิจัยจากทั่วโลก รวมทั้งเพื่อส่งเสริมการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในระดับสากลในสาขาวิชาการที่เกี่ยวข้อง เวลาที่จัดชุม: วันพุธที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Faculty of Pharmacy, University of Santo Tomas ประเทศฟิลิปปินส์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: เกิดการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ ประสบการณ์ทางวิชาชีพ และผลงานวิจัยในสาขาเภสัชศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ และชีวเคมี ระหว่างนักวิชาการและนักวิจัยจากทั่วโลก รวมทั้งเพื่อส่งเสริมการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในระดับสากลในสาขาวิชาการที่เกี่ยวข้อง ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2880 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4,11 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาโรค การดูแลผู้ป่วย และการใช้ยา เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขและเพิ่มพูนทักษะกระบวนการทำงานเป็นทีม รวมทั้งการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการพัฒนางานการแพทย์และสาธารณสุขให้กับบุคลากรทางเภสัชศาสตร์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เวลาที่จัดชุม: วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: 1. สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำนักพระราชวัง 2.กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ 3.มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: โครงการฝึกอบรมเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับบุคลากรทางการแพทย์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2021 รุ่นที่ 23 มีผู้เข้ารับการฝึกอบรมรวม 6 หลักสูตร 24 คน และเป็นโครงการที่ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยงานวิเทศสัมพันธ์ฯ ได้ร่วมจัดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาโรค การดูแลผู้ป่วย และการใช้ยา เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขและเพิ่มพูนทักษะกระบวนการทำงานเป็นทีม รวมทั้งการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการพัฒนางานการแพทย์และสาธารณสุขให้กับบุคลากรทางเภสัชศาสตร์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2886 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4,10 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: โครงการฝึกอบรมเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับบุคลากรทางการแพทย์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รุ่นที่ 23 วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาโรค การดูแลผู้ป่วย และการใช้ยา เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขและเพิ่มพูนทักษะกระบวนการทำงานเป็นทีม รวมทั้งการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการพัฒนางานการแพทย์และสาธารณสุขให้กับบุคลากรทางการแพทย์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เวลาที่จัดชุม: วันศุกร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: 1) สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำนักพระราชวัง 2) กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ และ 3) ส่วนงานต่างๆ ภายใต้มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: เป็นการรายงานการจัดโครงการฝึกอบรมเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ตามพระราชดำริฯ รุ่นที่ 23 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งจัดการอบรมไปเมื่อระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ – 17 มีนาคม 2564 และเป็นการนำเสนอโครงการพัฒนางาน ของบุคลากรทางการแพทย์สปป.ลาว ผ่านระบบออนไลน์ จำนวน 6 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรโรคเมืองร้อน หลักสูตรพยาธิวิทยากายวิภาค หลักสูตรเภสัชศาสตร์ หลักสูตรกายภาพบำบัด หลักสูตรโภชนาการ และหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์ โดยมีคณะผู้ดำเนินการฝึกอบรม และบุคลากรทางการแพทย์ผู้ผ่านการอบรม เข้าเฝ้าทูลละอองพระบาท ผ่านระบบออนไลน์ ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2887 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4,10 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาและทำความร่วมมือด้านการวิจัยในสาขา Drug Discovery ภายใต้โครงการ Reinventing University: Drug Discovery เวลาที่จัดชุม: วันจันทร์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: ร่วมหารือเกี่ยวกับความร่วมมือในการวิจัยโครงการ Reinventing University: Drug Discovery ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2890 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: การสัมมนาดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในระดับนานาชาติของคณาจารย์และนักวิชาการเกี่ยวกับบทบาทของเภสัชกรกับการใช้วัคซีนเพื่อป้องกันแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รวมถึงสถานการณ์การฉีดวัคซีน COVID-19 ในประเทศต่างๆ อาทิ ประเทศไทย มาเลเซีย ฟิลปปินส์ และอินโดนีเซีย เวลาที่จัดชุม: วันพฤหัสบดีที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: ผู้เข้าร่วมโครงการทัความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ในหการบรรยายในหัวข้อ ’Current Status of Covid-19 Vaccination in Thailand’ ในการสัมมนาวิชาการนานาชาติ เรื่อง ’Pharmacy Perspectives on Vaccination’ ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2909 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4,11 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขด้านเศรษฐศาสตร์ของการใช้วัคซีน โดยการสร้างเสริมศักยภาพในการประยุกต์หลักเศรษฐศาสตร์เข้ากับการบริหารจัดการการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแห่งชาติ โดยโครงการดังกล่าวได้เริ่มดำเนินการตั้งแต่ ปี 2560 และมีข้อตกลงให้มีศูนย์ฝึกอบรม ซึ่งดำเนินการโดยสถาบันการศึกษาประจำอยู่ในแต่ละภูมิภาค โดยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกมี ’คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล’ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการฝึกอบรม เวลาที่จัดชุม: วันที่ 28-30 เมษายน พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: ตลอดระยะเวลาของการฝึกอบรม 3 วัน ประกอบด้วยการบรรยายใน 4 หัวข้อหลัก ได้แก่ 1) Vaccine Economics in Health Systems 2) Costing of Immunization Programs 3) Economic Evaluation of Vaccines and Immunization Programs และ 4) Applying Economics to Vaccination Program Locally. โดยคณะผู้จัดโครงการได้รับเกียรติจากวิทยากรหลายท่าน อาทิ คณาจารย์จากสาขาวิชาเภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร ภาควิชาเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยากรชาวต่างประเทศจาก Johns Hopkins Bloomberg School of Public Health (JHSPH) ได้แก่ Dr. David Bishai จาก The Johns Hopkins Bloomberg School of Public Health รวมทั้งนักวิชาการและผู้บริหารของหน่วยงานในระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับการใช้วัคซีนอีกด้วย ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2925 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4, |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อเป็นเวทีในการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทางวิชาการด้านเภสัชศาสตร์ศึกษา (Pharmacy Education) และด้านเภสัชศาสตร์ (Pharmacy & Pharmaceutical Sciences) ในสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในวิชาชีพเภสัชกรรม และผลักดันให้เกิดการแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดเทคโนโลยีในระดับสากล เวลาที่จัดชุม: วันจันทร์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: การประชุมวิชาการนานาชาติดังกล่าว ประกอบด้วย การบรรยายทางวิชาการในหัวข้อต่างๆ เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี วิทยาการ ความก้าวหน้า และองค์ความรู้ใหม่ด้านเภสัชศาสตร์ศึกษาและด้านเภสัชศาสตร์ในสาขาต่างๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิและคณาจารย์ของสถาบันการศึกษาด้านเภสัชศาสตร์ของประเทศไทยและประเทศสหรัฐอเมริกา และในโอกาสนี้ คณาจารย์ของคณะฯ ได้ร่วมเป็นวิทยากรในการบรรยายดังกล่าวด้วย ดังนี้ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภก.ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ บรรยายในหัวข้อ ’Pharmacist Immunization in Thailand’ ในวันที่ 9 มิถุนายน 2564 เวลา 08.00-08.20 น. 2. อาจารย์ ภญ.เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา เป็นผู้ดำเนินรายการ (Moderator) ร่วมกับ Prof. Alan Lau จาก the University of Illinois at Chicago ในหัวข้อ ’Immunization by Pharmacists: Experiences from the US and Philippines; Expanding Scope of Practice in Thailand’ ในวันที่ 9 มิถุนายน 2564 ตั้งแต่เวลา 08.00-10.30 น. ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2951 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้มีโอกาสทบทวนความรู้ทางเภสัชวิทยาของยาเดิม และได้เพิ่มพูนความรู้ขององค์ความรู้ใหม่ นอกจากนี้ ยังส่งเสริมให้เภสัชกรและบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขผู้มีบทบาทหน้าที่ในการให้คำแนะนำและดูแลผู้รับบริการเกี่ยวกับยาได้นำองค์ความรู้ที่มีไปใช้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย อีกทั้งยังเป็นสนับสนุนการบริการวิชาการที่ส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่เภสัชกรวิชาชีพและบุคลากรทางการแพทย์อีกด้วย เวลาที่จัดชุม: วันที่ 10-11 มิถุนายน พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: การประชุมวิชากได้รับเกียรติจากคณาจารย์ภาควิชาเภสัชวิทยา นำโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.จุฑามณี สุทธิสีสังข์ รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยมหิดล และ รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.วิลาสินี หิรัญพานิช ซาโตะ หัวหน้าภาควิชาเภสัชวิทยา ในการเป็นวิทยากรบรรยายร่วมกับวิทยากรภายนอกผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แก่ รองศาสตราจารย์ นพ.สมชาย ลีลากุศลวงศ์ จากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล รองศาสตราจารย์ นพ.สมพงษ์ สุวรรณวลัยกร จากคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ พ.ท. นพ. เดชวิจิตร์ สุวรรณภักดี จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ซึ่งให้เกียรติบรรยายในการประชุมดังกล่าวด้วย ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2952 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: จัดฝึกอบรมในด้านชีวเคมีทางเภสัชศาสตร์ให้แก่นักศึกษาแลกเปลี่ยน สาขาชีวเคมี จำนวน 15 คน อันจะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของคณะฯ ในระดับนานาชาติ และสนับสนุนให้คณาจารย์และนักศึกษาได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ รวมทั้งวัฒนธรรมผ่านความร่วมมือในระดับสากล เวลาที่จัดชุม: วันพฤหัสบดีที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และทักษะ ทางด้านวิชาชีพสาขาชีวเคมีทางเภสัชศาสตร์ (Pharmaceutical Biochemistry) และสาขาชีวเคมี ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2954 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4,8 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อสร้างความเข้าใจและส่งเสริมทักษะของอาจารย์ในการจัดการเรียนการสอน และดำเนินการทวนสอบ เพื่อนำไปสู่การผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพในระดับสากล โดยสามารถนำเทคนิคการเรียนการสอนไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถให้ Active Reflection และ Feedback แก่นักศึกษา ผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อนำไปสู่การเรียนการสอนแบบ Transformative Learning ได้ เวลาที่จัดชุม: วันอังคารที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: การประชุมเชิงปฏิบัติการดังกล่าวได้รับเกียรติจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภก.สมชาย สุริยะไกร จากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อ การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning/Online Learning และการสอบแบบ Essay และการประเมินผลการสอน นอกจากนี้ ยังได้รับเกียรติจาก รองศาสตราจารย์ ภก.ปรีชา มนทกานติกุล รองคณบดีฝ่ายการศึกษา ร่วมบรรยายในหัวข้อ การทำ Reflection and Feedback และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คณิสส์ เสงี่ยมสุนทร บรรยายในหัวข้อ การออกแบบ Rubric Score ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2957 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับพยาธิสรีรวิทยาที่เกี่ยวข้องกับอาการเวียนหัว บ้านหมุน การรักษา และการดูแลตนเองอย่างถูกวิธี ทำให้สามารถประยุกต์องค์ความรู้ไปใช้ในการทำงานด้านสาธารณสุข และนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของตนเองและคนใกล้ชิดได้ นอกจากนี้ ยังส่งเสริมให้เภสัชกรและบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขผู้มีบทบาทหน้าที่ในการให้คำแนะนำและดูแลผู้รับบริการเกี่ยวกับยาได้นำองค์ความรู้ที่มีไปใช้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย อีกทั้งยังเป็นสนับสนุนการบริการวิชาการที่ส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่เภสัชกรวิชาชีพและบุคลากรทางการแพทย์อีกด้วย เวลาที่จัดชุม: วันพุธที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: การประชุมวิชาการดังกล่าว ได้รับเกียรติจากคณาจารย์ภาควิชาสรีรวิทยาและภาควิชาเภสัชกรรมในการเป็นวิทยากรบรรยายร่วมกับวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก ได้แก่ ผศ.พญ.สุวัจนา อธิภาส จากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ซึ่งให้เกียรติบรรยาย หัวข้อ Holistic approach for vertigo: Common pitfalls in clinical practice ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2958 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: การจัด Graduate Research Symposium 2021 มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาและผู้สนใจได้เผยแพร่ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และเพื่อสร้างเครือข่ายการวิจัย รวมทั้งเสริมสร้างความร่วมมือด้านการวิจัยร่วมกันระหว่างสถาบันการศึกษา หน่วยงาน องค์กร และชุมชน เวลาที่จัดชุม: วันจันทร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: เป็นการหารือความร่วมมือในการจัด Graduate Research Symposium 2021 ร่วมกันระหว่างสองสถาบัน ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2960 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อหารือเกี่ยวกับความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสองสถาบันในหัวข้อเกี่ยวกับ ความร่วมมือกับ Nara Institute of Science and Technology เวลาที่จัดชุม: วันศุกร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างไทย-ญี่ปุ่น-อาเซียนอีกด้วย และหวังว่าความร่วมมือกับ Nara Institute of Science and Technology นี้จะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้และสามารถขยายแผนงานไปยังสาขาอื่น ๆ ในอนาคต ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2968 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: ประชุมชี้แจงความร่วมมือด้านการวิจัยและนวัตกรรม ระหว่างคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ สถาบัน K-Agro Innovation (KAI) ในการดำเนินงานพัฒนาพืชสมุนไพรผ่านโครงการ "น่าน Sandbox" อันเป็นการสร้างเศรษฐกิจใหม่ให้แก่เกษตรกรของจังหวัดน่านผ่านการพัฒนาพืชสมุนไพรให้มีมูลค่าสูง เวลาที่จัดชุม: วันอังคารที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: ถาบัน KAI ได้รับการสนับสนุนจากธนาคารกสิกรไทยในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรผ่านโครงการ ’น่าน Sandbox’ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อการสร้างเศรษฐกิจใหม่ให้กับเกษตรกรของจังหวัดน่าน ผ่านการพัฒนาพืชสมุนไพรให้มีมูลค่าสูง ซึ่งสถาบัน KAI มีความประสงค์ที่จะพัฒนาความร่วมมือด้านการวิจัยกับคณะฯ และจะรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ดำเนินการแล้วเสร็จ รวมไปถึงการให้ทุนสนับสนุนงานวิจัยที่มีศักยภาพในการนำผลลัพธ์ไปขยายผลในเชิงอุตสาหกรรมและพาณิชย์ (Commercialization) ทั้งในส่วนของยา ผลิตภัณฑ์สมุนไพร เครื่องสำอาง และอาหารเสริม ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2974 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4,8,15 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางและประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาฝึกปฏิบัติการของทั้ง 3 สถาบัน ในช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทั่วโลก ซึ่งนำไปสู่การเปิดโลกทัศน์และจุดประกายความก้าวหน้าด้านเภสัชศาสตร์ศึกษาและวิชาชีพเภสัชกรรม เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ยกระดับบทบาทของสถาบันการศึกษาด้านเภสัชศาสตร์ และส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการพัฒนาการศึกษาด้านเภสัชศาสตร์และวิชาชีพเภสัชกรรมในระดับสากล เวลาที่จัดชุม: วันศุกร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: การประชุมดังกล่าวประกอบด้วยการบรรยายจากวิทยากรรับเชิญ จำนวน 3 ท่านจาก School of Pharmacy, University of Maryland ประเทศสหรัฐอเมริกา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬารงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผ่านระบบออนไลน์ Zoom Meetings โดยมีคณาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการ นักศึกษาเภสัชศาสตร์ จาก 18 สถาบันการศึกษาด้านเภสัชศาสตร์ของประเทศไทย และ 16 สถาบันการศึกษาด้านเภสัชศาสตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงคณาจารย์และนักวิชาการจากสถาบันการศึกษาด้านเภสัชศาสตร์ในกลุ่มประเทศอาเซียน เภสัชกรประจำบ้าน และเภสัชกรวิชาชีพ เข้าร่วมการประชุมออนไลน์ดังกล่าวมากกว่า 160 คน ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2979 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4 |
ลำดับ | รหัสวิชา | ระดับ | ชื่อวิชา |
1 | PYBC 673 | ปริญญาเอก | Principle of Biomolecular Analysis |
2 | PYBC 672 | ปริญญาเอก | Biochemical Technology Laboratory |
3 | PYBC 671 | ปริญญาเอก | Biochemical Techniques for Drug Research and Development |
4 | PYBC 670 | ปริญญาเอก | Human Metabolism |
5 | PYBC 676 | ปริญญาเอก | Applied Clinical Biochemistry |
6 | PYBC 674 | ปริญญาเอก | Advanced Biopharmaceutical Biochemistry |
7 | PYBC 675 | ปริญญาเอก | Biochemical Knowledge of Chemical and Biological Warfare |
8 | PYBC 665 | ปริญญาโท | Drug Metabolism and Detoxification |
9 | PYBC 667 | ปริญญาโท | Current Topics in Biochemistry |
10 | PYBC 668 | ปริญญาโท | Instrumental Resarch Techaniques |
11 | PYBC 669 | ปริญญาโท | Biopharmaceutical Biochemistry |
12 | PYBC 670 | ปริญญาโท | Human Metabolism |
13 | PYBC 671 | ปริญญาโท | Biochemical Techniques for Drug Research and Development |
14 | PYBC 673 | ปริญญาโท | Principle of Biomolecular Analysis |
15 | PYBC 663 | ปริญญาโท | Biomolecular Sciences in Pharmacy |
16 | PYRS 509 | ปริญญาโท | Regulation of Biological Products |
17 | PYRS 504 | ปริญญาโท | International Approaches to Regulation |
18 | PYBC 672 | ปริญญาโท | Biochemical Technology Laboratory |
19 | ภกพช ๒๐๑ | ปริญญาตรี | ชีวเคมี |
20 | ภกวช ๕๐๑ | ปริญญาตรี | ชีวเคมีคลินิก |
21 | ภกปช ๒๐๑ | ปริญญาตรี | ชีวเคมีของมนุษย์และโรค |
22 | ภกพช ๒๑๑ | ปริญญาตรี | ปฏิบัติการชีวเคมี |
สงวนลิขสิทธิ์ © 2563 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ออกแบบและพัฒนาโดยงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล |
Close [X] |
|||||
ติดต่อสอบถามพิพิธภัณฑ์พืชสมุนไพรภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล447 Thanon Si Ayutthaya, Thung Phaya Thai, Ratchathewi, Bangkok 10400
|