Reduced Inequalitiesการดำเนินการตามเป้าหมายที่ 10: ลดความเหลื่อมล้ำ ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
ที่มา/ความสำคัญ: Noncommunicable diseases caused 48% of total deaths in Lao PDR in 2014. Eleven percent of the total deaths were caused by cancers. . Age-standardized death rate caused by cervical cancer per 100,000 population was 7.81, making cervical cancer the 25th most common cause of deaths. ขอบเขต: Laos PDR วัตถุประสงค์: The study aimed to estimate the cost of implementation of school-based HPV vaccination program in two pilot provinces of Lao PDR as part of the Gavi demonstration. projects. แหล่งทุนสนับสนุน: World Health Organization หน่วยงานที่ร่วมมือ: World Health Organization ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: World Health Organization ระดับความร่วมมือ: International Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/journal/_files/2019-46-1_7.pdf https://pharmacy.mahidol.ac.th/journal/_... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,10,17 |
ที่มา/ความสำคัญ: Rotavirus diarrhea is the leading cause of morbidity and mortality in young children in both developed and developing countries. Hospitalization costs are a significant burden of both governments and households. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: The objective of this study was to estimate the economic burden associated with the hospitalization of children with non-rotavirus and rotavirus diarrhea in two provinces in Thailand. แหล่งทุนสนับสนุน: Thailand Research Fund through the Royal Golden Jubilee Ph.D. Program (Grant No. PHD/0186/2552) หน่วยงานที่ร่วมมือ: University of Groningen ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Ministry of Public Health ระดับความร่วมมือ: International Web link: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0264410X18316736 https://www.sciencedirect.com/science/ar... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,10,17 |
ที่มา/ความสำคัญ: Non-vitamin K antagonist oral anticoagulants (NOACs) have been recommended as preferred options for stroke prevention in patients with atrial fibrillation (AF) versus warfarin by guidelines worldwide.Despite clear benefits from clinical perspectives, the cost-effectiveness of these agents in the Thai health care context needs further exploration. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: This study aimed to evaluate the cost-effectiveness of each NOAC in a Thai health care environment, a country with upper middle-income economies based on the World Bank’s classification. แหล่งทุนสนับสนุน: Pfizer Inc. หน่วยงานที่ร่วมมือ: Naresuan University ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Ministry of Public Health ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://www.heartlungcirc.org/article/S1443-9506(19)30263-X/fulltext https://www.heartlungcirc.org/article/S1... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,10 |
ที่มา/ความสำคัญ: Maternal health still remains a major challenge in almost all developing countries. In Myanmar, the country met only 62% of its target for the maternal mortality rate (130 per 100,000 live birth) even though proportion of skilled birth attendant (SBA) and antenatal care (ANC) coverage was 80% in 2015. Despite the estimated large maternal complications, most maternal healthcare program ignored the burden of those morbidity because of limited understanding of the incidence and prevalence of morbidity conditions and cost of those morbidity burdens on society. ขอบเขต: Myanmar วัตถุประสงค์: The present study provides a general idea of the scope of obstetric complication, incidence of obstetric complication, and cost of those morbidity burdens on society. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: University of Pharmacy, Yangon, Ministry of Health and Sports, Myanmar ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Ministry of Health and Sports, Myanmar ระดับความร่วมมือ: International Web link: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6426195/ https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/article... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,10,17 |
ที่มา/ความสำคัญ: Some health problems have been a global burden, the top ranks are ischemic heart disease and cerebrovascular disease that are non-communicable diseases (NCDs). Many countries have tried to prevent from getting worse and more costly. Health promotion, disease prevention and control programs have been implemented, but the budget allocation seems to be not enough. Evidence of empirical costing studies may help on decision of more investment. ขอบเขต: Asia วัตถุประสงค์: This systematic review provided information about the situation in costing analysis studies of health promotion, disease prevention and controlling program that had been done in some countries in Asia. แหล่งทุนสนับสนุน: The Center for Economic Evaluation of Health Promotion ( Thailand) and The Thai Health Promotion Foundation. หน่วยงานที่ร่วมมือ: Ngudi Waluyo University, Ungaran, Indonesia ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Ministry of Public Health ระดับความร่วมมือ: International Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/journal/_files/2019-46-3_163-174.pdf https://pharmacy.mahidol.ac.th/journal/_... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,10,17 |
ที่มา/ความสำคัญ: Rotavirus is a viral pathogen that causes gastroenteritis with symptoms of fever, diarrhea, and emesis, which could lead to dehydration rapidly. According to the World Health Organization (WHO) estimate, about 215 000 (range, 197 000–233 000) children died of rotavirus infection globally in 2013 and 85%–90% of these infections occurred in lower-middle-income countries (LMICs), particularly in Asia and Africa. ขอบเขต: International วัตถุประสงค์: Rotavirus causes morbidity and mortality in children particularly in low-income countries (LICs) and lower-middle-income countries (LMICs). This systematic review and meta-analysis aimed to assess cost-effectiveness of rotavirus vaccine in LICs and LMICs. แหล่งทุนสนับสนุน: the International Decision Support Initiative (iDSI) หน่วยงานที่ร่วมมือ: Faculty of Medicine at Ramathibodi Hospital ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Professional organizations ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://academic.oup.com/ofid/article/6/4/ofz117/5371529 https://academic.oup.com/ofid/article/6/... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,10,17 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: "เพื่อส่งเสริมให้บุคลการรู้จักการวางงแผนด้านการเงินเพื่อสร้างหลักประกันชีวิตในระหว่างยังทำงานและความมั่นคงทางด้านการเงิน ให้มีเงินไว้ใช้ในวัยชราไม่เป็นภาระต่อลูกหลานและสังคม อีกทั้งไว้ใช้ทางด้านการศึกษาในการนำมาสร้างความก้าวหน้าในหน้าที่การงานและสร้างเงินในอนาคต" เวลาที่จัดกิจกรรม: วันพุธที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2563 สถานที่จัดกิจกรรม: ห้องประชุม ชั้น 5 อาคารวิจัยฯ กลุ่มเป้าหมาย: บุคลากรคณะเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: โครงการ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ธนาคารออมสิน จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับเกียรติบัตรและรางวัลสำหรับผู้ที่ฝากเงินได้มากกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ก่อนเริ่มโครงการ และมอบรางวัลพิเศษสำหรับผู้ที่ฝากเงินเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกเดือน Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2810 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 1,8,10 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลสำหรับการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการสำหรับนักศึกษา คณาจารย์ และบุคลากร เวลาที่จัดกิจกรรม: วันจันทร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2563 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษา คณาจารย์ บุคลากร และประชาชนทั่วไป รูปแบบจัดกิจกรรม: รับมอบตำรา หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดเคมซอร์จส์,ศิษย์เก่าคณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: คณะ ฯ ได้รับตำราเพื่อให้นักศึกษา คณาจารย์ บุคลากร และประชาชนทั่วไป ได้ค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการ Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2813 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4,10 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาโรค การดูแลผู้ป่วย และการใช้ยา เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขและเพิ่มพูนทักษะกระบวนการทำงานเป็นทีม รวมทั้งการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการพัฒนางานการแพทย์และสาธารณสุขให้กับบุคลากรทางเภสัชศาสตร์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เวลาที่จัดชุม: วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: 1. สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำนักพระราชวัง 2.กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ 3.มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: โครงการฝึกอบรมเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับบุคลากรทางการแพทย์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2021 รุ่นที่ 23 มีผู้เข้ารับการฝึกอบรมรวม 6 หลักสูตร 24 คน และเป็นโครงการที่ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยงานวิเทศสัมพันธ์ฯ ได้ร่วมจัดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาโรค การดูแลผู้ป่วย และการใช้ยา เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขและเพิ่มพูนทักษะกระบวนการทำงานเป็นทีม รวมทั้งการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการพัฒนางานการแพทย์และสาธารณสุขให้กับบุคลากรทางเภสัชศาสตร์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2886 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4,10 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: โครงการฝึกอบรมเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับบุคลากรทางการแพทย์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รุ่นที่ 23 วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาโรค การดูแลผู้ป่วย และการใช้ยา เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขและเพิ่มพูนทักษะกระบวนการทำงานเป็นทีม รวมทั้งการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการพัฒนางานการแพทย์และสาธารณสุขให้กับบุคลากรทางการแพทย์จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เวลาที่จัดชุม: วันศุกร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: 1) สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำนักพระราชวัง 2) กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ และ 3) ส่วนงานต่างๆ ภายใต้มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: เป็นการรายงานการจัดโครงการฝึกอบรมเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ตามพระราชดำริฯ รุ่นที่ 23 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งจัดการอบรมไปเมื่อระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ – 17 มีนาคม 2564 และเป็นการนำเสนอโครงการพัฒนางาน ของบุคลากรทางการแพทย์สปป.ลาว ผ่านระบบออนไลน์ จำนวน 6 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรโรคเมืองร้อน หลักสูตรพยาธิวิทยากายวิภาค หลักสูตรเภสัชศาสตร์ หลักสูตรกายภาพบำบัด หลักสูตรโภชนาการ และหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์ โดยมีคณะผู้ดำเนินการฝึกอบรม และบุคลากรทางการแพทย์ผู้ผ่านการอบรม เข้าเฝ้าทูลละอองพระบาท ผ่านระบบออนไลน์ ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2887 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,4,10 |
ลำดับ | รหัสวิชา | ระดับ | ชื่อวิชา |
1 | PYRS 512 | ปริญญาโท | Intellectual Properties for Health Products |
2 | PYRS 504 | ปริญญาโท | International Approaches to Regulation |
สงวนลิขสิทธิ์ © 2563 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ออกแบบและพัฒนาโดยงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล |
Close [X] |
|||||
ติดต่อสอบถามพิพิธภัณฑ์พืชสมุนไพรภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล447 Thanon Si Ayutthaya, Thung Phaya Thai, Ratchathewi, Bangkok 10400
|