Decent Work & Economic Growthการดำเนินการตามเป้าหมายที่ 8: การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
ที่มา/ความสำคัญ: Coix lacryma-jobi, is a popular medicinal plant that is native to Southeast Asia. It has been shown to possess anti-cancer activity and may harbor potential to be developed into clinical use. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: Liposomes, entrapped with Job’s Tears fractions, were prepared by the supercritical carbon dioxide fluid (scCO2) technique with and without sonication. Physical characteristics, which were the particle size, zeta potential, vesicular morphology, microviscosity and bioactivities including anti-proliferative, apoptotic and antioxidative activities of the S1L-S5L liposomal systems, were investigated. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: Tokyo University of Science, 2641 Chiba, Japan ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Pharmaceutical industry ระดับความร่วมมือ: International Web link: https://www.ingentaconnect.com/content/asp/jnn/2019/00000019/00000004/... https://www.ingentaconnect.com/content/a... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Curcumin is the active compound in Curcuma longa L. that has been used traditionally for many ailments because of its wide spectrum of pharmacological activities including antioxidant, anti-inflammatory, and anti-microbial activities. Several studies investigated the anti-microbial activity of curcumin against Helicobacter pylori. Curcumin was able to inhibit growth of H. pylori both in vitro and in vivo and also to restore H. pylori-induced gastric damage in a mice model.A stomach specific targeted drug delivery system could be used for local treatment of diseases such as peptic ulcer, gastric cancer, and H. pylori infection. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: Curcumin floating beads with low density materials including polypropylene foam powder, oils and various solubilizers were developed to prolong gastroretention and improve typically insufficient curcumin release, thus providing possible utilization for peptic ulcer treatment. แหล่งทุนสนับสนุน: Thailand Research Fund หน่วยงานที่ร่วมมือ: Naresuan University ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Pharmaceutical industry ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1773224719301224 https://www.sciencedirect.com/science/ar... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Alpha-mangostin (AMG) is one of the most studied xanthones from Garcinia mangostana. It can be isolated from the pericarp of the mangosteen fruit. AMG has drawn much interest because of its numerous pharmacological properties, including antioxidant, antitumor, anti-inflammatory, antiallergic, antibacterial, antifungal, antiviral, and antimalarial effects. However, its poor aqueous solubility is a major obstacle for formulation development. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: In this study, we aimed to investigate the effects of stabilizers and HPH-processing parameters, i.e., cycle number and pressure, on the particle size of AMG. Percent size reduction efficiency of AMG suspensions at different HPH conditions was determined. แหล่งทุนสนับสนุน: Thailand Research Fund หน่วยงานที่ร่วมมือ: Chiba University ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Pharmaceutical industry ระดับความร่วมมือ: International Web link: https://www.jstage.jst.go.jp/article/cpb/67/4/67_c18-00589/_article/-c... https://www.jstage.jst.go.jp/article/cpb... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Chitosan film, when prepared from chitosan solution in acetic acid, possesses some unpleasant properties, such as its remaining acid content and poor mechanical properties. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: This study aimed to develop a new chitosan aqueous dispersion as a film-forming material with a lower acid content and improved mechanical properties. Chitosan aqueous dispersions were prepared by solvent displacement method. แหล่งทุนสนับสนุน: Thailand Research Fund หน่วยงานที่ร่วมมือ: Naresuan University ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Pharmaceutical industry ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1773224719308810# https://www.sciencedirect.com/science/ar... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: The German cockroach, Blattella germanica, has been considered a major source of allergens and pathogens. The application of repellents has received attention to keep these insects away from their hiding places such as kitchen cupboards. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: In this study, the repellent potency of essential oils (EOs) and the major components of Cymbopogon winterianus, Eucalyptus globulus and Citrus hystrix against adult German cockroach were assessed. The chemical compositions of EOs were investigated using the Gas chromatography-Mass spectrometry. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Pharmaceutical industry ระดับความร่วมมือ: Web link: http://jjbs.hu.edu.jo/files/vol12/n4/Paper%20Number%2018.pdf http://jjbs.hu.edu.jo/files/vol12/n4/Pap... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Propranolol is a commonly used beta-blockers in the treatment of various cardiovascular diseases. However, it undergoes extensive first pass metabolism which makes the half life short requiring frequent administration. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: The objective of this study was to investigate the effect of xanthan gum, pectin and okra mucilage on the release rates of propranolol hydrochloride from hydrophilic swellable matrices with microcrystalline cellulose ( MCC) as insoluble direct compression filler. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: General Drug House, Co, Ltd. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Pharmaceutical industry ระดับความร่วมมือ: National Web link: http://ejournals.swu.ac.th/index.php/pharm/article/view/11942 http://ejournals.swu.ac.th/index.php/pha... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Aerva lanata (Amaranthaceae) is a tropical weed commonly found in fields and wasteland. Several biological activities of this plant have been reported, such as antihyperglycemic, antimicrobial, and anticancer activities. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: Different antioxidant assays including DPPH radical scavenging, ferric reducing antioxidant power (FRAP), and ABTS radical scavenging assays were assessed to compare antioxidant potentials of plant extracts. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: Thammasart University ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Food industry ระดับความร่วมมือ: National Web link: http://cmuj.cmu.ac.th/uploads/journal_list_index/590999252.pdf http://cmuj.cmu.ac.th/uploads/journal_li... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Mangiferin is present mostly in the leaves and stems of mango trees. It has been used in therapeutic and cosmetic applications with no adverse effects. To date, the chemical synthesis of mangiferin has been scarcely reported and the other viable methods provided extremely low yields. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: This current research studied and optimized the extracting solvents which are the crucial factors affecting the efficiency of mangiferin extraction. The HPLC method in this study was validated and applied for the quantification of mangiferin in various parts of the M. indica that were collected from different locations in Thailand. Our study provided a basis for rich sources of mangiferin, quality assessment, and standardization for further development of phytopharmaceutical products. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: Thammasart University ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Food industry ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://rdo.psu.ac.th/sjstweb/journal/41-3/6.pdf https://rdo.psu.ac.th/sjstweb/journal/41... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Stingless bees (Apoidea) are widely distributed and commercially cultivated in artificial hives in fruit gardens. Their propolis are commonly used in traditional medicine to treat various diseases (e.g., abscesses, inflammations, and toothaches) and as a constituent of numerous health products. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: this study aimed to (i) develop and validate a high-performance thin layer chromatography method for the quantitation of major active constituents (?- and ?-mangostins) in propolis produced by five stingless bee species (Tetragonula fuscobalteata Cameron, T. laeviceps Smith, T. pagdeni Schwarz, Lepidotrigona terminata Smith, and L. ventralis Smith) cultivated in Thai mangosteen orchards and (ii) determine an optimal extraction solvent. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: Burapha University ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Food industry ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0102695X18304757#ac... https://www.sciencedirect.com/science/ar... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: In Thai traditional medicine, Pluchea indica (L.) Less., Asteraceae, leaf has been widely used for the treatment of diabetes mellitus, tumors, hypertension, cystitis, and wounds. P. indica herbal tea is commercially available in Thailand as a health-promoting drink. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: The study was conducted to develop and validate a high-performance thin-layer chromatography (HPTLC) method for the quantitative analysis of chlorogenic acid, 3,4-O-dicaffeoylquinic acid, and 3,5-O-dicaffeoylquinic acid in P. indica leaf extract and their commercial products in Thailand. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: Burapha University ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Food industry ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0102695X18304411 https://www.sciencedirect.com/science/ar... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: As a result of the expansion of aging society worldwide, the trend in consuming healthy foods as well as functional foods for maintaining good health and preventing chronic diseases is increasing. Currently, functional foods are commercially available in the market in many forms. However, their health benefits and stabilities are not routinely confirmed. Mangosteen pericarp has been well-known for its high content of xanthones which exhibited various biological activities. However, aqueous extract of mangosteen pericarp which contained low amount of alpha-mangostin is abundant in polymeric flavonoids such as epicatechin. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: In this study, we focused on the development of three functional foods containing low-alpha-mangostin aqueous extract of mangosteen pericarp, Homemade chocolate, Crunchy cornflakes, and Chrysanthemum and Chamomile flower tea, using processes avoiding the degradation of bioactive compounds. The bioactive compounds contained in the finished products was extracted and analyzed. แหล่งทุนสนับสนุน: National Research Council of Thailand หน่วยงานที่ร่วมมือ: ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Food industry ระดับความร่วมมือ: Web link: http://www.tjps.pharm.chula.ac.th/ojs/index.php/tjps/article/view/777 http://www.tjps.pharm.chula.ac.th/ojs/in... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Epinephrine (Adrenaline) is a lifesaving medication of the treatment of anaphylaxis and cardiac resuscitation. For out of hospital emergency treatment, some prefilled syringe and auto-injector device has been developed and prescribed to patients. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: The study aimed to to predict shelf life of the developed device, a stability-indicating high-performance liquid chromatography (HPLC) method was developed and validated for determine the amount of adrenaline tartrate. แหล่งทุนสนับสนุน: Thammasat University Research Fund หน่วยงานที่ร่วมมือ: Thammasart University ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Ministry of Public Health ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1018364717303142# https://www.sciencedirect.com/science/ar... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Dental caries that occurs in young children or Early Childhood Caries (ECC) remains highly prevalent worldwide. Streptococcus mutans is not only one of the pioneer groups in plaque formation but is also crucial for its continuous development. It is important to prevent the presence of Mutans Streptococci (MS) for more effective prevention of dental caries. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: To evaluate the susceptibility of Streptococcus mutans (ATCC 25175), Streptococcus sobrinus (ATCC 6715) and three Streptococcus mutans clinical isolates from Thai children to three oral spray formulations (2%L38, 4%L40, 6%L42) of Cymbopogon citratus extracted oil, and evaluate the inhibitory effect of each formulation on growth and biofilm formation of each strain แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: Faculty of Dentistry, Mahidol University. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Ministry of Public Health ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://www.jcdr.net/articles/PDF/12342/37459_CE[Ra]_F(P)_PF1(AB_SL)_P... https://www.jcdr.net/articles/PDF/12342/... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Methylglyoxal (MG) is a highly reactive dicarbonyl compound mainly produced during glucose metabolism via the glycolysis pathway. MG is regarded as the most potent glycation agent that is crucial to the development and progresson of diabetic complications. Chronic MG administration to normal rats mimicked diabetic alterations causing impaired response to ischemia and survival signaling pathways in diabetes. Therefore, one of the potential approaches to reduce AGEs-induced endothelial dysfunction and myocardial ischemia-reperfusion injury is to inhibit the formation of AGEs by limiting the production and/or by scavenging of endogenous MG. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: In the study, we investigated potential of dietary cyanidin-3-rutinoside to prevent the MG-induced vascular abnormalities as well as its ability to influence ischemia-induced cardiac arrhythmias in the rat model of cardiac arrhythmia and sudden cardiac death. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: CSIRO Health & Biosecurity, Australia ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Food industry ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1756464618304663 https://www.sciencedirect.com/science/ar... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: เนื่องในวันเด็กแห่งชาติประจำปี 2562 คณะเภสัชศาสตร์ กิจกรรม “นักพฤกษศาสตร์น้อย” บรรยากาศภายในงานประกอบด้วยกิจกรรมสมุดทำมือหลากสี เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีการประดิษฐ์สมุดอย่างง่ายด้วยตนเองและตกแต่งหน้าปกโดยใช้สีจากธรรมชาติ กิจกรรมแผงจิ๋วทำดอกไม้แห้งแต่งลายโดยเด็กๆ จะได้รับแจกแผงจิ๋วสำหรับอัดดอกไม้ใบไม้แห้งพร้อมทั้งมาตกแต่งเป็นหน้าปกแผงจิ๋วของตนเอง กิจกรรมยาดมสมุนไพร ทดลองปรุงยาดมจากสมุนไพรให้เป็นกลิ่นเฉพาะที่ตนชอบกลับไปให้คนที่รัก กิจกรรมเพาะชำสมุนไพร วัตถุประสงค์: ทำให้เด็กๆ ได้รู้จักสมุนไพรที่สามารถใช้ได้ในชีวิตประจำวัน และกิจกรรมชมนิทรรศการ “สมุนไพร ภูมิปัญญาไทยสู่สากล” ได้เรียนรู้การใช้ประโยชน์สมุนไพรตามหลักการแพทย์แผนไทยจากการชมนิทรรศการ เวลาที่จัดกิจกรรม: 12 มกราคม พ.ศ. 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มเป้าหมาย: เด็กอายุ 1-15 ปี รูปแบบจัดกิจกรรม: การบรรยายให้ความรู้/นิทรรศการ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล/อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 200 คน ผลลัพธ์: เด็กๆ ได้รู้จักสมุนไพร Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2410 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 8,15 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อเป็นการฝึกฝนความสามารถในการปฏิบัติงานและการทำงานเป็นเภสัชกรในอนาคต อีกทั้งแนะแนวการให้คำปรึกษาที่เหมาะสมกับผู้ป่วยรายต่าง ๆ เวลาที่จัดกิจกรรม: วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ.2562 สถานที่จัดกิจกรรม: กลุ่มเป้าหมาย: รูปแบบจัดกิจกรรม: กิจกรรมให้ความรู้ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 300 คน ผลลัพธ์: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2447 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,8,17 |
ที่มา/ความสำคัญ: เป็นการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ต่อยอด และประยุกต์ใช้ในการฝึกปฏิบัติงานอันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อมาตรฐานวิชาชีพ สังคมและประเทศต่อไป วัตถุประสงค์: เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา ยกระดับองค์ความรู้ และมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านเภสัชกรรมอุตสาหการ เวลาที่จัดกิจกรรม: วันที่ 8 มีนาคม 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 5 รูปแบบจัดกิจกรรม: อบรมให้ความรู้ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล/คณะอนุกรรมการการจัดการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 70 คน ผลลัพธ์: นักศึกษาสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในการฝึกปฏิบัติงานได้ Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2448 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 8,17 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อแนะแนวนักศึกษาเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 6 ที่กำลังจะจบการศึกษาเกี่ยวกับความก้าวหน้าในงานเภสัชกรรมสาขาต่างๆ เพิ่มพูนทักษะและเตรียมความพร้อมสำหรับการสัมภาษณ์งานในสายงานที่ตนเองสนใจ เวลาที่จัดกิจกรรม: วันที่ 20 มีนาคม 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 รูปแบบจัดกิจกรรม: อบรมเชิงปฏิบัติการ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล/ผู้ประกอบการ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 50 คน ผลลัพธ์: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2457 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 8 |
ที่มา/ความสำคัญ: ให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 ได้มีการพบปะพูดคุยสอบถามข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับตำแหน่งงานและการรับสมัครงานของผู้ประกอบการและหน่วยงานนั้นๆ วัตถุประสงค์: เพื่ออำนวยความสะดวกและเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพเภสัชกรรมและนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 ได้มีการพบปะพูดคุยสอบถามข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับตำแหน่งงานและการรับสมัครงานของผู้ประกอบการและหน่วยงานนั้นๆ เวลาที่จัดกิจกรรม: วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 รูปแบบจัดกิจกรรม: นิทรรศการ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล/ผู้ประกอบการ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 300 คน ผลลัพธ์: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2460 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 8 |
ที่มา/ความสำคัญ: โครงการปฐมนิเทศการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชศาสตร์สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 วัตถุประสงค์: เพื่อสานความสัมพันธ์ ความรัก และเป็นการส่งกำลังใจเชิงสัญลักษณ์จากคณาจารย์ไปยังนักศึกษาทุกคน ตลอดจนช่วยกระตุ้นการสร้างจิตสำนึกของการเป็นเภสัชกรที่ดีในอนาคต เวลาที่จัดกิจกรรม: 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 รูปแบบจัดกิจกรรม: กิจกรรม หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 300 คน ผลลัพธ์: การส่งกำลังใจเชิงสัญลักษณ์จากคณาจารย์ไปยังนักศึกษาทุกคน ตลอดจนช่วยกระตุ้นการสร้างจิตสำนึกของการเป็นเภสัชกรที่ดีในอนาคต Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2489 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 1,4,8 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: "เพื่อส่งเสริมให้บุคลการรู้จักการวางงแผนด้านการเงินเพื่อสร้างหลักประกันชีวิตในระหว่างยังทำงานและความมั่นคงทางด้านการเงิน ให้มีเงินไว้ใช้ในวัยชราไม่เป็นภาระต่อลูกหลานและสังคม อีกทั้งไว้ใช้ทางด้านการศึกษาในการนำมาสร้างความก้าวหน้าในหน้าที่การงานและสร้างเงินในอนาคต" เวลาที่จัดกิจกรรม: วันพุธที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2563 สถานที่จัดกิจกรรม: ห้องประชุม ชั้น 5 อาคารวิจัยฯ กลุ่มเป้าหมาย: บุคลากรคณะเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: โครงการ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ธนาคารออมสิน จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับเกียรติบัตรและรางวัลสำหรับผู้ที่ฝากเงินได้มากกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ก่อนเริ่มโครงการ และมอบรางวัลพิเศษสำหรับผู้ที่ฝากเงินเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกเดือน Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2810 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 1,8,10 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายได้รู้จักหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัยมหิดล ตลอดจนรับทราบข้อมูลสำคัญในการเตรียมตัวเข้าศึกษาและได้รับรู้ถึงประสบการณ์การเรียนและการใช้ชีวิตในคณะฯ ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาให้แก่นักเรียนและผู้ที่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตรระดับปริญญาตรี เวลาที่จัดกิจกรรม: วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต/นักศึกษาระดับปริญญาตรี เภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: สนทนาและถ่ายทอดสดผ่าน YouTube Live หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: สโมสรนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: กิจกรรม MUPY Open House 2020 เป็นหนึ่งในโครงการ ’งานมหิดลวิชาการ ประจำปี 2563’ เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ ’Policy Advocacy and Leaders in Professional / Academic Services’ รวมถึงเป็นการประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยมหิดลให้เป็นที่รู้จักแก่บุคคลภายนอก Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2833 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4,8 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อแนะแนวทางการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ในคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เวลาที่จัดกิจกรรม: วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2563 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักเรียนระดับมัธยมปลาย รูปแบบจัดกิจกรรม: อบรมสัมมนา หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: กองบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายได้มีโอกาสรับฟังการแนะแนวทางการศึกษาต่อคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2848 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4,8 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาด้าน Become an Effective Pharmacy Preceptor’ เวลาที่จัดกิจกรรม: วันเสาร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2563 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: เภสัชกรและบุคลากรด้านสาธารณสุข รูปแบบจัดกิจกรรม: ระบบออนไลน์ (ระบบ Zoom) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: Faculty of Pharmacy, Universitas Padjadjaran ประเทศอินโดนีเซีย จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: ผู้เข้าร่วมการสัมนา ได้รับความรู้และทักษะเกี่ยวกับ ’Become an Effective Pharmacy Preceptor และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2851 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4,8 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อแบ่งปันประสบการณ์การพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการ อาทิ ความสามารถในการสร้างแบรนด์ การจัดการการเงิน การใช้การตลาดขั้นพื้นฐาน การจัดการความล้มเหลว และการตระหนักถึงจุดแข็งและจุดอ่อน ให้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีของคณะฯ ซึ่งให้ความสนใจลงทะเบียนเข้าร่วมจำนวน 46 คน ได้มีโอกาสเปิดโลกทัศน์และมุมมองใหม่ๆ ในการดำเนินชีวิตและเตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานในวิชาชีพเภสัชกรรมในอนาคต เวลาที่จัดกิจกรรม: วันพฤหัสบดีที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักศึกษาเภสัชศาสตร์ รูปแบบจัดกิจกรรม: ระบบออนไลน์ (Microsoft Teams) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ศิษย์เก่าเภสัชมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: กิจกรรมดังกล่าวช่วยเสริมสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบการ และสร้างความตระหนักในการมีความรับผิดชอบส่วนรวม เพื่อการอยู่ร่วมกันและใช้ชีวิตอย่างเป็นปกติสุข Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2910 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 8 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: "เพื่อให้การดำเนินการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และสอดคล้องตามแผนงานด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ " เวลาที่จัดกิจกรรม: วันพฤหัสบดีที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย: นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ และผู้ร่วมใช้ห้องปฎิบัติการเภสัชเคมี 4 รูปแบบจัดกิจกรรม: ระบบออนไลน์ (Cisco Webex Meetings ) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ศูนย์บริหารความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพสิ่งแวดล้อมในการทำงาน มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: คณะฯได้รับการตรวจประเมินเอกสารและตอบข้อซักถาม รวมทั้งการเข้าตรวจประเมิน (Site Visit) เพื่อเข้ารับการตรวจประเมินและรับรองมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการในรูปแบบ Peer Evaluation: Phase 1 Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2964 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,8,9 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อรายงานและรับฟังความก้าวหน้าของโครงการความร่วมมือด้านการพัฒนาเครื่องสำอางจากวัสดุชีวภาพ ตลอดจนการขยายความร่วมมือในการสร้างนวัตกรรมและผลิตภัณฑ์อื่นๆ ตั้งแต่การแปรรูปสิ่งที่เหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมอาหารมาเป็นสินค้าที่มีมูลค่า เช่น วัตถุดิบในการผลิตยา เครื่องสำอาง การแปลงสภาพไปเป็นส่วนประกอบของอาหารเสริม อาหารทางเลือก เวลาที่จัดชุม: วันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: บริษัท เบทาโกร จำกัด จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: การขยายความร่วมมือในการสร้างนวัตกรรมและผลิตภัณฑ์อื่นๆ ตั้งแต่การแปรรูปสิ่งที่เหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมอาหารมาเป็นสินค้าที่มีมูลค่า เช่น วัตถุดิบในการผลิตยา เครื่องสำอาง การแปลงสภาพไปเป็นส่วนประกอบของอาหารเสริม อาหารทางเลือก และรวมไปถึงโอกาสในการใช้เครือข่ายชุมชนที่มีในการปลูกพืชสมุนไพรเป็นพืชเศรษฐกิจทดแทน เป็นต้น ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2831 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 8,12,17 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อการพัฒนาวิจัย ซึ่งรวมถึงการวิจัย คิดค้นผลงานที่มีการนำพืชสมุนไพรมาใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้น โดยใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นสูงมาใช้ ซึ่งดำเนินการโดยศูนย์วิจัยแห่งชาติ ภายใต้ สวทช. อาทิ ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ รวมไปถึงการกำหนดกลุ่มเทคโนโลยีเป้าหมาย (Technology Development Group: TDG) ด้านเวชสำอาง (TDG: Cosmeceuticals) ซึ่งเป็นโปรแกรมวิจัยที่มุ่งเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์เวชสำอางที่พัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการพัฒนาเทคโนโลยีการสกัดแบบ Green extraction เวลาที่จัดชุม: วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2563 สถานที่จัดประชุม: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (โยธี) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: 1) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 3) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และ 4) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: โครงการพัฒนาฐานข้อมูลสมุนไพรเพื่อการใช้ประโยชน์ทางเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับใช้ภายนอก” จะเป็นการพัฒนาฐานข้อมูลสมุนไพรเพื่อการใช้ประโยชน์ทางเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สมุนไพรสำหรับใช้ภายนอก ที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์ ทั้งในส่วนข้อมูลและรูปแบบการใช้งาน มีการคัดเลือกและกำหนดพืชสมุนไพรเป้าหมายที่มีศักยภาพสูงในการนำมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ทั้งพร้อมเปิดให้ทดลองใช้ปลาย 2564 ด้วยข้อมูลพืชสมุนไพรไม่ต่ำว่า 50 ชนิด ตั้งเป้าเพิ่มข้อมูลสมุนไพรเป็น 1000 ชนิดใน 5 ปี หวังสนับสนุนผู้ประกอบการไทยใช้ประโยชน์ พัฒนาเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทยสู่ตลาดโลก ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2842 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,8,12,15,17 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อเจรจาเกี่ยวข้องกับแนวทางการดำเนินงานตามนโยบายพระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 ที่มีเป้าหมายส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาแผนไทย ยาแผนทางเลือก ยาพัฒนาจากสมุนไพร และผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพอย่างกว้างขวาง โดยมีจุดเน้น คือ การส่งเสริมให้ผู้ประกอบการสามารถขออนุญาตผลิตภัณฑ์สมุนไพรแบบจดแจ้ง เวลาที่จัดชุม: วันศุกร์ที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: มีเป้าหมายส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาแผนไทย ยาแผนทางเลือก ยาพัฒนาจากสมุนไพร และผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพอย่างกว้างขวาง โดยมีจุดเน้น คือ การส่งเสริมให้ผู้ประกอบการสามารถขออนุญาตผลิตภัณฑ์สมุนไพรแบบจดแจ้ง ซึ่งเป็นขั้นตอนการขออนุญาตตามรูปแบบหรือแนวทางที่กำหนดไว้ โดยอ้างอิงข้อมูลสมุนไพรอ้างอิงหรือ Positive lists ซึ่งประกอบไปด้วยผลิตภัณฑ์ 4 ประเภท ได้แก่ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพที่เป็นไปตามองค์ความรู้ดั้งเดิม (ค1) ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพที่พัฒนาไปจากองค์ความรู้ดั้งเดิม (ค2) ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพที่อ้างอิงความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (ค3) และ เวชสำอางสมุนไพร (ค4) ซึ่งทั้งสององค์กรมีความสนใจที่จะร่วมมือกันทำงาน โดยใช้ศักยภาพด้านวิชาการของคณะฯ มาสนับสนุนการผลักดันนโยบายของกระทรวง โดยมีผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดรายการสมุนไพรที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์สูง เพื่อทำให้เกิดการผลักดันสมุนไพรไทยสู่ความสำเร็จเชิงพาณิชย์อย่างมีทิศทางที่ชัดเจน ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2945 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 3,8 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: จัดฝึกอบรมในด้านชีวเคมีทางเภสัชศาสตร์ให้แก่นักศึกษาแลกเปลี่ยน สาขาชีวเคมี จำนวน 15 คน อันจะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของคณะฯ ในระดับนานาชาติ และสนับสนุนให้คณาจารย์และนักศึกษาได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ รวมทั้งวัฒนธรรมผ่านความร่วมมือในระดับสากล เวลาที่จัดชุม: วันพฤหัสบดีที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และทักษะ ทางด้านวิชาชีพสาขาชีวเคมีทางเภสัชศาสตร์ (Pharmaceutical Biochemistry) และสาขาชีวเคมี ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2954 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4,8 |
หัวข้อการจัดประชุม: ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: ประชุมชี้แจงความร่วมมือด้านการวิจัยและนวัตกรรม ระหว่างคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ สถาบัน K-Agro Innovation (KAI) ในการดำเนินงานพัฒนาพืชสมุนไพรผ่านโครงการ "น่าน Sandbox" อันเป็นการสร้างเศรษฐกิจใหม่ให้แก่เกษตรกรของจังหวัดน่านผ่านการพัฒนาพืชสมุนไพรให้มีมูลค่าสูง เวลาที่จัดชุม: วันอังคารที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: บทบาทของคณะฯ: ผลลัพธ์: ถาบัน KAI ได้รับการสนับสนุนจากธนาคารกสิกรไทยในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรผ่านโครงการ ’น่าน Sandbox’ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อการสร้างเศรษฐกิจใหม่ให้กับเกษตรกรของจังหวัดน่าน ผ่านการพัฒนาพืชสมุนไพรให้มีมูลค่าสูง ซึ่งสถาบัน KAI มีความประสงค์ที่จะพัฒนาความร่วมมือด้านการวิจัยกับคณะฯ และจะรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ดำเนินการแล้วเสร็จ รวมไปถึงการให้ทุนสนับสนุนงานวิจัยที่มีศักยภาพในการนำผลลัพธ์ไปขยายผลในเชิงอุตสาหกรรมและพาณิชย์ (Commercialization) ทั้งในส่วนของยา ผลิตภัณฑ์สมุนไพร เครื่องสำอาง และอาหารเสริม ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2974 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 4,8,15 |
ลำดับ | รหัสวิชา | ระดับ | ชื่อวิชา |
1 | PYMP 642 | ปริญญาเอก | Advanced Industrial Pharmacy I |
2 | PYPH 691 | ปริญญาเอก | Technology of Phytopharmaceutical Production |
3 | PYMP 641 | ปริญญาเอก | Instrumental Research Techniques in Pharmaceutics |
4 | PYPY 617 | ปริญญาเอก | Transdermal Drug Delivery System |
5 | PYMP 634 | ปริญญาเอก | Manufacture of Sustained Release Pharmaceuticals |
6 | PYMP 635 | ปริญญาเอก | Packaging of Pharmaceuticals |
7 | PYMP 648 | ปริญญาเอก | Polymer Sciences in Pharmaceutics |
8 | PYMP 649 | ปริญญาเอก | Nasal and Pulmonary Drug Delivery |
9 | PYMP 650 | ปริญญาเอก | Stability of Solid Dosage Forms |
10 | PYPT601 | ปริญญาเอก | Seminar in Pharmaceutics I |
11 | PYMP 632 | ปริญญาเอก | Theoretical Aspects of Solid Dosage Forms |
12 | PYPT601 | ปริญญาโท | Seminar in Pharmaceutics I |
13 | PYMP 640 | ปริญญาโท | Industrial Administration |
14 | PYMP 641 | ปริญญาโท | Instrumental Research Techniques in Pharmaceutics |
15 | PYMP 642 | ปริญญาโท | Advanced Industrial Pharmacy I |
16 | PYMP 643 | ปริญญาโท | Advanced Industrial Pharmacy II |
17 | PYMP 644 | ปริญญาโท | Unit Operations in Pharmacy |
18 | PYMP 645 | ปริญญาโท | Manufacturing Process Analytical Technology |
19 | PYMP 647 | ปริญญาโท | Manufacture of Natural Products |
20 | PYRS 510 | ปริญญาโท | Risk Management Tools for Pharmaceutical Industry |
21 | PYMP 646 | ปริญญาโท | Pharmaceutical Product Development II |
22 | PYPT 603 | ปริญญาโท | Special Problems in Pharmaceutics |
23 | PYRS 512 | ปริญญาโท | Intellectual Properties for Health Products |
24 | PYRS 508 | ปริญญาโท | Process of Drug Discovery and Pharmaceutical Product Development |
25 | PYRS 507 | ปริญญาโท | Seminar in Regulatory Science II |
26 | PYRS 505 | ปริญญาโท | Principles of Risk Management and Vigilance System for Health Products |
27 | PYRS 503 | ปริญญาโท | Statistics in Regulatory Science for Pharmaceutical Products |
28 | PYRS 502 | ปริญญาโท | Quality Management System and Quality Assurance |
29 | PYPH 670 | ปริญญาโท | Herbal Production and Formulation Development |
30 | ภกวร ๖๗๒ | ปริญญาตรี | การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านการวิจัยและพัฒนายา ๒ |
31 | ภกผอ ๒๑๑ | ปริญญาตรี | ปฏิบัติการเภสัชการ ๑ |
32 | ภกวอ ๕๐๔ | ปริญญาตรี | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาสามัญ |
33 | ภกผอ ๔๐๔ | ปริญญาตรี | เภสัชการ ๔ |
34 | ภกผอ ๔๑๔ | ปริญญาตรี | ปฏิบัติการเภสัชการ ๔ |
35 | ภกผอ ๕๐๑ | ปริญญาตรี | เภสัชวิศวกรรม |
36 | ภกผอ ๖๗๑ | ปริญญาตรี | การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านการผลิตยา ๑ |
37 | ภกวอ ๖๗๓ | ปริญญาตรี | การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านการผลิตยา ๒ |
38 | ภกวอ ๖๗๔ | ปริญญาตรี | การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านการผลิตยา ๓ |
39 | ภกวอ ๖๗๕ | ปริญญาตรี | การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านการผลิตยา ๔ |
40 | ภกวร ๖๗๑ | ปริญญาตรี | การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านการวิจัยและพัฒนายา ๑ |
41 | ภกผอ ๒๐๑ | ปริญญาตรี | เภสัชการ ๑ |
42 | ภกวร ๖๔๔ | ปริญญาตรี | การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพด้านการควบคุมยา ๑ |
สงวนลิขสิทธิ์ © 2563 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ออกแบบและพัฒนาโดยงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล |
Close [X] |
|||||
ติดต่อสอบถามพิพิธภัณฑ์พืชสมุนไพรภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล447 Thanon Si Ayutthaya, Thung Phaya Thai, Ratchathewi, Bangkok 10400
|