Zero Hungerการดำเนินการตามเป้าหมายที่ 2: ขจัดความหิวโหย ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
ที่มา/ความสำคัญ: Lepidium sativum L. is a rich source of polyphenols that have huge medicinal and pharmaceutical applications. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: The aim of the study was to develop an effective abiotic elicitation strategy to enhance the biosynthesis of polyphenols in callus culture of L. sativum. แหล่งทุนสนับสนุน: Universit? d’Orl?ans หน่วยงานที่ร่วมมือ: Universit? d’Orl?ans ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Pharmaceutical industry ระดับความร่วมมือ: International Web link: https://www.mdpi.com/1422-0067/20/7/1787 https://www.mdpi.com/1422-0067/20/7/1787... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Painted nettle (Plectranthus scutellarioides (L.) R.Br.) is an ornamental plant belonging to Lamiaceae family, native of Asia. Its leaves constitute one of the richest sources of trans-rosmarinic acid, a well-known antioxidant and antimicrobial phenolic compound. These biological activities attract interest from the cosmetic industry and the demand for the development of green sustainable extraction processes. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: The aim of the study was to optimize and validate an ultrasound-assisted extraction (USAE) method using ethanol as solvent. แหล่งทุนสนับสนุน: Universit? d’Orl?ans หน่วยงานที่ร่วมมือ: Universit? d’Orl?ans ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Pharmaceutical industry ระดับความร่วมมือ: International Web link: https://www.mdpi.com/2223-7747/8/3/50 https://www.mdpi.com/2223-7747/8/3/50... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Silybum marianum (L.) Gaertn. is a well-known medicinal herb, primarily used in liver protection. Light strongly affects several physiological processes along with secondary metabolites biosynthesis in plants. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: The aim of the study was to evaluate the influence of melatonin and different light regimes on silymarin production as well as antioxidant and anti-inflammatory activities in S. marianum callus extracts. แหล่งทุนสนับสนุน: Universit? d’Orl?ans หน่วยงานที่ร่วมมือ: Universit? d’Orl?ans ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Pharmaceutical industry ระดับความร่วมมือ: International Web link: https://www.mdpi.com/1420-3049/24/7/1207 https://www.mdpi.com/1420-3049/24/7/1207... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Lepidium sativum L. is an important edible, herbaceous plant with huge medicinal value as cardio-protective, hepatoprotective and antitumor agent. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: This study was designed and performed to investigate biosynthesis of plant's active ingredients in callus cultures of L.?sativum in response to the exposure of multi spectral lights. แหล่งทุนสนับสนุน: Universit? d'Orl?ans หน่วยงานที่ร่วมมือ: Universit? d'Orl?ans ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Pharmaceutical industry ระดับความร่วมมือ: International Web link: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1011134419300077 https://www.sciencedirect.com/science/ar... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Silybum marianum (L.) Gaertn. (aka milk thistle) constitutes the source of silymarin (SILM), a mixture of different flavonolignans and represents a unique model for their extraction. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: The aim of the study was to develop and validate an ultrasound-assisted extraction (UAE) method of S. marianum flavonolignans follow by their quantification using LC system. แหล่งทุนสนับสนุน: Cosmetosciences หน่วยงานที่ร่วมมือ: Universit? d’Orl?ans ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Cosmetic industry ระดับความร่วมมือ: International Web link: https://www.mdpi.com/2076-3921/8/8/304 https://www.mdpi.com/2076-3921/8/8/304... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Almond (Prunus dulcis (Mill.) D.A. Webb) is one of the most important nut crops both in terms of area and production. Over the last few decades, an important part of the beneficial actions for health associated with their consumption was attributed to the phenolic compounds, mainly accumulated in almond skin. Interestingly, after cold-pressed oil extraction, most of these antioxidant phenolic compounds are retained in a skin-enriched by-product, a so-called almond cold-pressed oil residue. In Morocco, the fifth highest ranking producer in the world, this production generates an important part of this valuable byproduct. ขอบเขต: Morocco วัตถุประสงค์: In the present study, using a multivariate Box–Behnken design, an ultrasound-assisted extraction method of phenolic compounds from Moroccan almond cold-pressed oil residue was developed and validated. แหล่งทุนสนับสนุน: Cosmetosciences หน่วยงานที่ร่วมมือ: Universit? d’Orl?ans ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Cosmetic industry ระดับความร่วมมือ: International Web link: https://www.mdpi.com/2076-3417/10/9/3313/htm https://www.mdpi.com/2076-3417/10/9/3313... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Grape canes are waste biomass of viticulture containing bioactive polyphenols valuable in cosmetics. Whereas several studies reported the cosmetic activities of E-resveratrol, only few described the potential of E-?-viniferin, the second major constituent of grape cane extracts (GCE), and none of them investigated GCE as a natural blend of polyphenols for cosmetic applications. ขอบเขต: International วัตถุประสงค์: In this study, we considered the potential of GCE from polyphenol-rich grape varieties as multifunctional cosmetic ingredients. HPLC analysis was performed to quantify major polyphenols in GCE i.e., catechin, epicatechin, E-resveratrol, E-piceatannol, ampelopsin A, E-?-viniferin, hopeaphenol, isohopeaphenol, E-miyabenol C and E-vitisin B from selected cultivars. Skin whitening potential through tyrosinase inhibition assay and the activation capacity of cell longevity protein (SIRT1) of GCE were compared to pure E-resveratrol and E-?-viniferin. Drug-likeness of GCE polyphenols were calculated, allowing the prediction of skin permeability and bioavailability. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: Universit? de Tours ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Cosmetic industry ระดับความร่วมมือ: International Web link: https://www.mdpi.com/1420-3049/25/9/2203 https://www.mdpi.com/1420-3049/25/9/2203... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Aerva lanata (Amaranthaceae) is a tropical weed commonly found in fields and wasteland. Several biological activities of this plant have been reported, such as antihyperglycemic, antimicrobial, and anticancer activities. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: Different antioxidant assays including DPPH radical scavenging, ferric reducing antioxidant power (FRAP), and ABTS radical scavenging assays were assessed to compare antioxidant potentials of plant extracts. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: Thammasart University ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Food industry ระดับความร่วมมือ: National Web link: http://cmuj.cmu.ac.th/uploads/journal_list_index/590999252.pdf http://cmuj.cmu.ac.th/uploads/journal_li... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Mangiferin is present mostly in the leaves and stems of mango trees. It has been used in therapeutic and cosmetic applications with no adverse effects. To date, the chemical synthesis of mangiferin has been scarcely reported and the other viable methods provided extremely low yields. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: This current research studied and optimized the extracting solvents which are the crucial factors affecting the efficiency of mangiferin extraction. The HPLC method in this study was validated and applied for the quantification of mangiferin in various parts of the M. indica that were collected from different locations in Thailand. Our study provided a basis for rich sources of mangiferin, quality assessment, and standardization for further development of phytopharmaceutical products. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: Thammasart University ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Food industry ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://rdo.psu.ac.th/sjstweb/journal/41-3/6.pdf https://rdo.psu.ac.th/sjstweb/journal/41... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Stingless bees (Apoidea) are widely distributed and commercially cultivated in artificial hives in fruit gardens. Their propolis are commonly used in traditional medicine to treat various diseases (e.g., abscesses, inflammations, and toothaches) and as a constituent of numerous health products. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: this study aimed to (i) develop and validate a high-performance thin layer chromatography method for the quantitation of major active constituents (?- and ?-mangostins) in propolis produced by five stingless bee species (Tetragonula fuscobalteata Cameron, T. laeviceps Smith, T. pagdeni Schwarz, Lepidotrigona terminata Smith, and L. ventralis Smith) cultivated in Thai mangosteen orchards and (ii) determine an optimal extraction solvent. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: Burapha University ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Food industry ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0102695X18304757#ac... https://www.sciencedirect.com/science/ar... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: In Thai traditional medicine, Pluchea indica (L.) Less., Asteraceae, leaf has been widely used for the treatment of diabetes mellitus, tumors, hypertension, cystitis, and wounds. P. indica herbal tea is commercially available in Thailand as a health-promoting drink. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: The study was conducted to develop and validate a high-performance thin-layer chromatography (HPTLC) method for the quantitative analysis of chlorogenic acid, 3,4-O-dicaffeoylquinic acid, and 3,5-O-dicaffeoylquinic acid in P. indica leaf extract and their commercial products in Thailand. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: Burapha University ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Food industry ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0102695X18304411 https://www.sciencedirect.com/science/ar... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: As a result of the expansion of aging society worldwide, the trend in consuming healthy foods as well as functional foods for maintaining good health and preventing chronic diseases is increasing. Currently, functional foods are commercially available in the market in many forms. However, their health benefits and stabilities are not routinely confirmed. Mangosteen pericarp has been well-known for its high content of xanthones which exhibited various biological activities. However, aqueous extract of mangosteen pericarp which contained low amount of alpha-mangostin is abundant in polymeric flavonoids such as epicatechin. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: In this study, we focused on the development of three functional foods containing low-alpha-mangostin aqueous extract of mangosteen pericarp, Homemade chocolate, Crunchy cornflakes, and Chrysanthemum and Chamomile flower tea, using processes avoiding the degradation of bioactive compounds. The bioactive compounds contained in the finished products was extracted and analyzed. แหล่งทุนสนับสนุน: National Research Council of Thailand หน่วยงานที่ร่วมมือ: ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Food industry ระดับความร่วมมือ: Web link: http://www.tjps.pharm.chula.ac.th/ojs/index.php/tjps/article/view/777 http://www.tjps.pharm.chula.ac.th/ojs/in... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Epinephrine (Adrenaline) is a lifesaving medication of the treatment of anaphylaxis and cardiac resuscitation. For out of hospital emergency treatment, some prefilled syringe and auto-injector device has been developed and prescribed to patients. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: The study aimed to to predict shelf life of the developed device, a stability-indicating high-performance liquid chromatography (HPLC) method was developed and validated for determine the amount of adrenaline tartrate. แหล่งทุนสนับสนุน: Thammasat University Research Fund หน่วยงานที่ร่วมมือ: Thammasart University ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Ministry of Public Health ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1018364717303142# https://www.sciencedirect.com/science/ar... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Dental caries that occurs in young children or Early Childhood Caries (ECC) remains highly prevalent worldwide. Streptococcus mutans is not only one of the pioneer groups in plaque formation but is also crucial for its continuous development. It is important to prevent the presence of Mutans Streptococci (MS) for more effective prevention of dental caries. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: To evaluate the susceptibility of Streptococcus mutans (ATCC 25175), Streptococcus sobrinus (ATCC 6715) and three Streptococcus mutans clinical isolates from Thai children to three oral spray formulations (2%L38, 4%L40, 6%L42) of Cymbopogon citratus extracted oil, and evaluate the inhibitory effect of each formulation on growth and biofilm formation of each strain แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: Faculty of Dentistry, Mahidol University. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Ministry of Public Health ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://www.jcdr.net/articles/PDF/12342/37459_CE[Ra]_F(P)_PF1(AB_SL)_P... https://www.jcdr.net/articles/PDF/12342/... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: Methylglyoxal (MG) is a highly reactive dicarbonyl compound mainly produced during glucose metabolism via the glycolysis pathway. MG is regarded as the most potent glycation agent that is crucial to the development and progresson of diabetic complications. Chronic MG administration to normal rats mimicked diabetic alterations causing impaired response to ischemia and survival signaling pathways in diabetes. Therefore, one of the potential approaches to reduce AGEs-induced endothelial dysfunction and myocardial ischemia-reperfusion injury is to inhibit the formation of AGEs by limiting the production and/or by scavenging of endogenous MG. ขอบเขต: Thailand วัตถุประสงค์: In the study, we investigated potential of dietary cyanidin-3-rutinoside to prevent the MG-induced vascular abnormalities as well as its ability to influence ischemia-induced cardiac arrhythmias in the rat model of cardiac arrhythmia and sudden cardiac death. แหล่งทุนสนับสนุน: หน่วยงานที่ร่วมมือ: CSIRO Health & Biosecurity, Australia ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: Food industry ระดับความร่วมมือ: National Web link: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1756464618304663 https://www.sciencedirect.com/science/ar... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,8,9 |
ที่มา/ความสำคัญ: เพื่อร่วมกันพิจารณาแนวขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์กัญชา เพื่อการศึกษาวิจัยและประโยชน์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์: พิจารณาแนวทางการใช้ประโยชน์ และแผนขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์ทางการแพทย์และการศึกษาวิจัย คือการประมาณการผู้ป่วยที่จะใช้กัญชาเพื่อการบำบัดรักษา การเตรียมความพร้อมผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสถานพยาบาล กลุ่มโรคที่จะใช้กัญชาเพื่อการบำบัดรักษาและแผนการวิจัย รว เวลาที่จัดกิจกรรม: วันที่ 11 มีนาคม 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: สื่อออนไลน์ กลุ่มเป้าหมาย: จำนวนผู้ป่วยที่ใช้กัญชารักษาโรค รูปแบบจัดกิจกรรม: ร่วมหารือเรื่องการใช้ประโยชน์จากกัญชา หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะกรรมการขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์กัญชาทางการแพทย์ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 100 คน ผลลัพธ์: โรคที่จะใช้กัญชารักษารวมทั้งแผนการผลิตและสกัดมาตรการควบคุมกำกับดูแลการใช้ประโยชน์จากกัญชา Web link: http://news.ch3thailand.com/local/89928 http://news.ch3thailand.com/local/89928... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 1,2,3,15,17 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: - เวลาที่จัดกิจกรรม: 31-พ.ค.-05 สถานที่จัดกิจกรรม: สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ กลุ่มเป้าหมาย: - รูปแบบจัดกิจกรรม: รางวัล หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 30 คน ผลลัพธ์: การวิจัยค้นหาพืชสมุนไพรชนิดใหม่ การศึกษาเพื่อค้นหายาใหม่จากสมุนไพร การปรับปรุงพันธุ์พืชสมุนไพรเพื่อให้สามารถผลิตสารสำคัญที่มีประโยชน์ทางยาได้มากขึ้น การจัดทำตำราการควบคุมคุณภาพเครื่องยาสมุนไพร การวิเคราะห์คุณภาพเครื่องยาด้วยวิธีอย่างง่าย และการวิจัยพัฒนาส Web link: http://www.sem-foundation.org/index.php?ge=view&gen_lang=210519075712 http://www.sem-foundation.org/index.php?... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 1,2,3,17 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อเจรจาความร่วมมือด้านการศึกษาทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาธารณสุข เภสัชศาสตร์ และเวชศาสตร์เขตร้อน แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับนโยบายด้านการศึกษาที่เชื่อมโยงกับนโยบายภาครัฐ (One Belt One Road) และความร่วมมือกับภาคเอกชน เวลาที่จัดกิจกรรม: 18-19 มิถุนายน พ.ศ. 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: สาธารณรัฐประชาชนจีน กลุ่มเป้าหมาย: - รูปแบบจัดกิจกรรม: เจรจาความร่วมมือ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 50 คน ผลลัพธ์: - Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2511 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,17 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เพื่อสนับสนุนและพัฒนางานวิจัยด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางอาหารเพื่อส่งเสริมโภชนการและการมีสุขภาพที่ดีของผู้บริโภค และนำไปสู่การเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพและอาหารเฉพาะทาง เวลาที่จัดกิจกรรม: 7 สิงหาคม พ.ศ. 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: บริษัท ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารซีพีเอฟ จำกัด กลุ่มเป้าหมาย: - รูปแบบจัดกิจกรรม: นิทรรศการ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 30 คน ผลลัพธ์: 1. เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีองค์ความรู้และทักษะด้านการวิจัย เพื่อให้สามารถคิดค้นและต่อยอดงานวิจัย และสร้างสรรค์เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางอาหาร 2. การนำผลงานวิจัยหรือผลิตภัณฑ์จากงานวิจัยที่เกิดจากความร่วมมือนี้ไปสู่การใช้ปร Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2545 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,17 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: ให้ความรู้แก่ประชาชน เวลาที่จัดกิจกรรม: 27 สิงหาคม พ.ศ. 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มเป้าหมาย: ประชาชนทั่วไป รูปแบบจัดกิจกรรม: รายการโทรศัศน์ (ชีวิตชีวา) หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ภาควิชาเภสัชกรรม จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: - ผลลัพธ์: ได้รับความรู้เรื่องการใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย Web link: https://www.youtube.com/watch?v=9yLZpWgmi4k https://www.youtube.com/watch?v=9yLZpWgm... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3 |
ที่มา/ความสำคัญ: - วัตถุประสงค์: การเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขไทย เวลาที่จัดกิจกรรม: 9 กันยายน พ.ศ. 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: ไลฟ์สไตล์ฮออล์ ชั้น 2 ศูนย์การค้าสยามพารากอน กลุ่มเป้าหมาย: - รูปแบบจัดกิจกรรม: นิทรรศการ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 500 คน ผลลัพธ์: - Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2575 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,17 |
ที่มา/ความสำคัญ: วัตถุประสงค์: เวลาที่จัดกิจกรรม: 22 ตุลาคม พ.ศ. 2562 สถานที่จัดกิจกรรม: The Cloud magazine กลุ่มเป้าหมาย: ประชาชนทั่วไป รูปแบบจัดกิจกรรม: บทสัมภาษณ์ ลงสื่ออีเล็คทรอนิกส์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: ผลลัพธ์: เพื่อให้ให้ความรู้ผ่านสื่อมวลชนเพื่อเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ผลงาน และกิจกรรมดังกล่าว ไปสู่ชุมชนและสาธารณชนเพื่อให้ได้ทราบและนำไปสู่การใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางต่อไป Web link: https://readthecloud.co/herbarium-bhanubong-bongcheewin/ https://readthecloud.co/herbarium-bhanub... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,15 |
ที่มา/ความสำคัญ: การตรวจสอบเอกลักษณ์พืชสมุนไพรและเครื่องยาไทยเป็นทักษะที่สำคัญในการเรียนรู้พืชสมุนไพร เพื่อการการระบุชนิดพืชสมุนไพรและเครื่องยาไทยให้ถูกชนิดตามหลักการที่ถูกต้อง พืชสมุนไพรที่ใช้ในทางอุตสาหกรรมและการเตรียมยาแผนไทยนั้นเป็นเครื่องยาสมุนไพรที่ต้องใช้ทักษะและความเชี่ยวชาญในการระบุแหล่งที่มาทางพฤกษศาสตร์ ด้วยเหตุนี้ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ และอุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีความเชี่ยวชาญด้านการตรวจสอบเอกลักษณ์ของพืชสมุนไพรและเครื่องยาไทย ได้เล็งเห็นความสำคัญในการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง และการฝึกฝนทักษะที่จะนำไปสู่การใช้สมุนไพรอย่างถูกต้องโดยการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนี้ขึ้น วัตถุประสงค์: เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้และพัฒนาทักษะในการตรวจสอบเอกลักษณ์พืชสมุนไพรและเครื่องยาไทยที่ถูกต้องตามหลักการให้แก่บุคลากรทางการแพทย์และผู้ที่สนใจทั่วไป เวลาที่จัดกิจกรรม: 1 สิงหาคม พ.ศ. 2563 สถานที่จัดกิจกรรม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มเป้าหมาย: บุคลากรทางการแพทย์และผู้ที่สนใจทั่วไป รูปแบบจัดกิจกรรม: การประชุมออนไลน์ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ ร่วมกับ อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: 35 คน ผลลัพธ์: ให้รู้และพัฒนาทักษะในการตรวจสอบเอกลักษณ์พืชสมุนไพรและเครื่องยาไทยที่ถูกต้องตามหลักการให้แก่บุคลากรทางการแพทย์และผู้ที่สนใจทั่วไป Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2733 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 1,2,3,15 |
หัวข้อการจัดประชุม: การใช้กัญชาทางการแพทย์ ที่มา/ความสำคัญ: จากการที่ประเทศไทยจะมีการปรับเปลี่ยนนโยบายและกฎหมายเกี่ยวกับ “การใช้กัญชาทางการแพทย์” นั้น ทำให้กัญชาและการนำกัญชามาใช้ทางการแพทย์เป็นที่สนใจในวงกว้าง ประกอบกับปัจจุบันข้อมูลข่าวสารได้มีการเผยแพร่ทางสื่อโซเชียลและแพร่ไปอย่างรวดเร็วโดยมีทั้งข้อมูลที่มีหลักฐานทางวิชาการ และไม่มี หรือมีแต่ไม่สมบูรณ์ ทำให้เกิดความสับสนในข้อมูลเกี่ยวกับกัญชา ดังนั้นบุคลากรทางสาธารณสุขจึงจำเป็นที่จะต้องติดตามความรู้และความก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้กัญชาทางการแพทย์ ซึ่งรวมถึงด้านพฤกษศาสตร์ คุณสมบัติทางเภสัชวิทยา และข้อบ่งชี้ที่จะใช้ในทางการแพทย์ นอกจากนี้ยังต้องทำความเข้าใจกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่นการขออนุญาตผลิต การจำหน่าย การนำเข้า การส่งออก และการครอบครองกัญชา อีกด้วย วัตถุประสงค์: 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบและเข้าใจข้อมูลทางเภสัชพฤกษศาสตร์ และเภสัชวินิจฉัย ของกัญชา 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบและเข้าใจการใช้กัญชาในการแพทย์แผนไทย ตลอดจนนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวกับกัญชา 3.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมทบทวนเภสัชวิทยาของสารออกฤทธิ์ที่สำคัญของกัญชา การใช้กัญชาทางการแพทย์บนหลักฐานทางวิชาการ และหลักการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาอย่างสมเหตุผล เวลาที่จัดชุม: วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2562 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: 471 คน บทบาทของคณะฯ: บรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมประชุม ผลลัพธ์: ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการบริหารจัดการการใช้กัญชาอย่างสมเหตุผลได้ ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: คะแนนความพึงพอใจคุณภาพของเนื้อหา = 4.34 เต็ม 5 คะแนนความพึงพอใจการให้บริการทั่วไป = 4.47 เต็ม 5 คะแนนเฉลี่ยรวม = 4.41 Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2544 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 1,2,3 |
หัวข้อการจัดประชุม: Pharmacotherapy of Respiratory Diseases ที่มา/ความสำคัญ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาด้านเภสัชศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทย จึงมีความประสงค์ที่จะนำเสนอการประชุมวิชาการในรูปแบบใหม่ที่มุ่งเน้นการบูรณาการความรู้ด้านเภสัชศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจที่ลึกซึ้งและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเริ่มต้นจากปี พ.ศ. 2553 และมีแผนการจัดประชุมในลักษณะเป็นรายปี ในแต่ละปีจะมีปรัชญาการประชุมที่เหมือนกัน คือ เน้นการบูรณาการ แต่เนื้อหาการประชุมอาจจะแตกต่างกันออกไปตามศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์: 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุม เข้าใจแนวทางการวินิจฉัยและแนวทางการรักษาโรคภูมิแพ้จมูก โรคหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมอธิบายคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาที่สำคัญของยาที่ใช้ในการรักษาโรคภูมิแพ้จมูก โรคหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคระบบทางเดินหายใจอื่น รวมถึงสามารถบอกความแตกต่างของยาแต่ละชนิดได้ 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจและอธิบายบทบาทของเภสัชกรในการทำให้ผู้ป่วยสามารถใช้ยาเทคนิคพิเศษต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพทางคลินิก และปลอดภัย 4.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจและอธิบายหลักการเลือกใช้ยาเพื่อรักษาโรคระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย โดยอ้างอิงตามหลักฐานทางวิชาการที่ทันสมัย 5.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการประเมินความเหมาะสมของการใช้ยา การวางแผนการติดตามประสิทธิภาพและความปลอดภัย และการให้คำแนะนำปรึกษาแก่ผู้ป่วยเพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขอาการไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เวลาที่จัดชุม: วันที่ 14-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 สถานที่จัดประชุม: โรงแรมนารายณ์ ถนนสีลม กรุงเทพฯ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: 215 คน บทบาทของคณะฯ: บรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมประชุม ผลลัพธ์: 1. ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยที่มีโรคระบบทางเดินหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: คะแนนความพึงพอใจคุณภาพของเนื้อหา = 4.49 เต็ม 5 คะแนนความพึงพอใจการให้บริการทั่วไป = 4.58 เต็ม 5 คะแนนเฉลี่ยรวม = 4.54 Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2552 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,17 |
หัวข้อการจัดประชุม: Natural products screening study on disease and development signals, The antimalarial drug dihydroartemisinin: formulation design and challenges in drug development, Formulation and the characterization strategy for poorly water-soluble drugs, Folic acid-conjugated nanoparticles for targeted delivery to cancer cells, Polyplex nanomicelles assembled with RNA drug applied on regenerative medicine, Identification of a urinary selenium metabolite by mass spectrometry, Taiwan EQ-5D-5L value set, its associated factors of worth than death health states and associations with medication health literacy and health policy in Taiwan, Use of health technology assessment in informing clinical development and market access decisions of new medicines, Precision-cut liver slices: A tool for studying multicellular diseases, Designing pH-Responsive Polyelectrolyte Complexes for curcumin sustained releasing formulation from Type B gelatin and pectin, Development of taste masked fexofenadine hydrochloride orodispersible tablets using hot melt extrusion, Effect of molecular state of ternary solid dispersion on the physical property and stability of amorphous drug nanoparticles formed by aqueous dispersion, Transcriptome analysis and identification of genes associated with bryonolic acid biosynthesis in Trichosanthes cucumerina L. ที่มา/ความสำคัญ: ตามที่ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ Chiba University ประเทศญี่ปุ่น และ China Medical University สาธารณรัฐประชาชนจีน (ไต้หวัน) ซึ่งมีเป้าหมายในการสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนทางวิชาการทั้งด้านการศึกษาและการวิจัยของคณาจารย์ นักวิชาการ และนักศึกษาของทั้ง 3 มหาวิทยาลัยในระดับภูมิภาคเอเชีย เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและการเรียนการสอนในสาขาเภสัชศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพในระดับสากล ให้เท่าทันและสอดคล้องกับบริบทของโลกในยุคปัจจุบันซึ่งได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงแบบพลิกผัน (Disruption) ความรู้ทางวิชาการและวิทยาการด้านเภสัชศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพจึงต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ทันสมัย เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการด้านบริการสุขภาพในศตวรรษใหม่ วัตถุประสงค์: 1) เพื่อสนับสนุนให้เกิดเวทีของการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาการด้านการศึกษาและการวิจัยในสาขาเภสัชศาสตร์ระหว่างคณาจารย์และนักศึกษาจากทั้ง 3 มหาวิทยาลัยในภูมิภาคเอเชีย 2) เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและการวิจัยในระดับภูมิภาคเอเชีย โดยมีคณะฯ เป็นหนึ่งในผู้แสดงบทบาทหลัก และส่งเสริมให้วารสาร Pharmaceutical Sciences Asia ของคณะฯ เป็นที่รู้จักในระดับสากล อันจะนำไปสู่การเผยแพร่และตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการระหว่างสถาบัน 3) เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์และความเป็นเลิศทางวิชาการของคณะฯ และมหาวิทยาลัยมหิดล ให้เป็นที่ประจักษ์ในระดับนานาชาติ สอดคล้องตามแผนยุทธศาสตร์ในการมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำระดับโลก (World Class University) เวลาที่จัดชุม: วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2562 สถานที่จัดประชุม: โรงแรมแบงค็อก มิดทาวน์ กรุงเทพฯ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: งานวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: 101 คน บทบาทของคณะฯ: บรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมประชุม ผลลัพธ์: 1) คณาจารย์และนักศึกษาจากทั้ง 3 มหาวิทยาลัยในภูมิภาคเอเชียได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาการด้านการศึกษาและการวิจัยในสาขาเภสัชศาสตร์ระหว่าง 2) เกิดเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและการวิจัยในระดับภูมิภาคอาเชีย โดยมีคณะฯ เป็นหนึ่งในผู้แสดงบทบาทหลัก และวารสาร Pharmaceutical Sciences Asia ของคณะฯ ได้รับการเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักในระดับสากล 3) ภาพลักษณ์และความเป็นเลิศทางวิชาการของคณะฯ และมหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการส่งเสริมให้เป็นที่ประจักษ์ในระดับนานาชาติ สอดคล้องตามแผนยุทธศาสตร์ในการมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำระดับโลก (World Class University) ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: จำนวนผลงาน 16 Poster Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2557 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,17 |
หัวข้อการจัดประชุม: Exploring the local wisdom for advanced pharmacy education and research ที่มา/ความสำคัญ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นถึงความสำคัญในการสร้างความร่วมมือในระดับนานาชาติ เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและการเรียนการสอนด้านเภสัชศาสตร์ในระดับภูมิภาคมาอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดการประชุมวิชาการในระดับสากลขึ้น เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการด้านเภสัชศาสตร์ในทุกสาขาระหว่างเภสัชกรและนักวิจัยทางเภสัชศาสตร์ในหมู่ประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศอื่นๆ ในเอเชีย และคาดว่าจะมีผู้เข้าร่วมประชุมจากในประเทศและกว่า 15 ประเทศในแถบเอเชีย รวมทั้งมีการเชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นผู้นำวิชาการในระดับโลกและภูมิภาคมาร่วมงานเพื่อเปิดโอกาสในการสร้างเครือข่ายวิชาการที่เข้มแข็งและแสดงศักยภาพของคณาจารย์และนักศึกษาเภสัชศาสตร์ของคณะฯ สู่สายตาของนักวิชาการเหล่านั้นและผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการจากหลายประเทศในแถบเอเชีย เพื่อส่งเสริมผลงานและภาพลักษณ์ของคณะฯ ในการเป็นสถาบันการศึกษาด้านเภสัชศาสตร์ชั้นนำแห่งเอเชีย วัตถุประสงค์: เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการด้านเภสัชศาสตร์ในทุกสาขาระหว่างเภสัชกรและนักวิจัยทางเภสัชศาสตร์ในหมู่ประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศอื่นๆ ในเอเชีย เวลาที่จัดชุม: วันที่ 14-15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 สถานที่จัดประชุม: Royal Ambarrukmo Hotel เมืองยอกยาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: 15 คน บทบาทของคณะฯ: ผู้ร่วมจัดงาน ผลลัพธ์: โอกาสในการสร้างเครือข่ายวิชาการที่เข้มแข็งและแสดงศักยภาพของคณาจารย์และนักศึกษาเภสัชศาสตร์ของคณะฯ สู่สายตาของนักวิชาการเหล่านั้นและผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการจากหลายประเทศในแถบเอเชีย เพื่อส่งเสริมผลงานและภาพลักษณ์ของคณะฯ ในการเป็นสถาบันการศึกษาด้านเภสัชศาสตร์ชั้นนำแห่งเอเชีย ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: จำนวนผลงาน 8 Poster Web link: https://conference.farmasi.ugm.ac.id/#:~:text=Aiming%20to%20facilitate... https://conference.farmasi.ugm.ac.id/#:~... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,4,17 |
หัวข้อการจัดประชุม: The First Asian Pharmacometric Network (APN) Symposium (Workshop) ที่มา/ความสำคัญ: การฝึกปฏิบัติการในการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์จากโปรแกรมทางเภสัชจลนศาสตร์ในรูปแบบของ workshop วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถรู้ถึงพื้นฐานและขอบข่ายของ pharmacometrics มีความเข้าใจและฝึกปฏิบัติการในการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์จากโปรแกรมทางเภสัชจลนศาสตร์ในการเรียนรู้ด้าน pharmacometrics รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างกันทั้งในประเทศไทยและกลุ่มประเทศในเอเชีย เวลาที่จัดชุม: วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 สถานที่จัดประชุม: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ภาควิชาเภสัชกรรม จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: 64 คน บทบาทของคณะฯ: บรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมประชุม และสอนให้ฝึกปฏิบัติการ ผลลัพธ์: ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถรู้ถึงพื้นฐานและขอบข่าย รวมถึงประสบการณ์จากการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์จากโปรแกรมทางเภสัชจลนศาสตร์ในการเรียนรู้ด้าน pharmacometrics และเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างกันทั้งในประเทศไทยและกลุ่มประเทศในเอเชีย ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: คะแนนเฉลี่ยรวม = 4.19 Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2624 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,17 |
หัวข้อการจัดประชุม: The First Asian Pharmacometric Network (APN) Symposium ที่มา/ความสำคัญ: การฟังการบรรยายทางทฤษฎีเพื่อให้เกิดความรู้ที่ทันสมัยรวมถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับวิทยากรผู้ที่มีประสบการณ์ในด้านนี้จากประเทศไทยและต่างประเทศ วัตถุประสงค์: 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถรู้ถึงพื้นฐานและขอบข่ายของ pharmacometrics และ มีความเข้าใจและฝึกปฏิบัติการในการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์จากโปรแกรมทางเภสัชจลนศาสตร์ในการเรียนรู้ด้าน pharmacometrics รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างกันทั้งในประเทศไทยและกลุ่มประเทศในเอเชีย 2.เพื่อให้หน่วยงานกำกับดูแลด้านยา ผลิตภัณฑ์สมุนไพร วัตถุเสพติด และเครื่องมือแพทย์ เข้าใจถึงความจำเป็นและการประยุกต์ใช้หลักการทางด้าน pharmacometrics เพื่อการทบทวนเอกสารที่นำมาใช้ขึ้นทะเบียน 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการกลุ่มอุตสาหกรรม ยา ผลิตภัณฑ์สมุนไพร วัตถุเสพติด และเครื่องมือแพทย์ เข้าใจถึงความจำเป็นและการประยุกต์ใช้หลักการทางด้าน pharmacometrics เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการประเมินผลิตภัณฑ์ก่อนการพัฒนาเพื่อเพิ่มโอกาสในความสำเร็จและลดต้นทุนในการวิจัยพัฒนา เวลาที่จัดชุม: วันที่ 19-20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 สถานที่จัดประชุม: โรงแรมตวันนา สุริยวงศ์ กรุงเทพฯ หน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ: ภาควิชาเภสัชกรรม จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม: 174 คน บทบาทของคณะฯ: บรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมประชุม ผลลัพธ์: 1.ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถรู้ถึงพื้นฐานและขอบข่าย รวมถึงประสบการณ์จากการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์จากโปรแกรมทางเภสัชจลนศาสตร์ในการเรียนรู้ด้าน pharmacometrics และเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างกันทั้งในประเทศไทยและกลุ่มประเทศในเอเชีย 2.หน่วยงานกำกับดูแลด้านยา ผลิตภัณฑ์สมุนไพร วัตถุเสพติด และเครื่องมือแพทย์ เข้าใจถึงความจำเป็นและการประยุกต์ใช้หลักการทางด้าน pharmacometrics เพื่อการทบทวนเอกสารที่นำมาใช้ขึ้นทะเบียน 3.ผู้ประกอบการกลุ่มอุตสาหกรรม ยา ผลิตภัณฑ์สมุนไพร วัตถุเสพติด และเครื่องมือแพทย์ เข้าใจถึงความจำเป็นและการประยุกต์ใช้หลักการทางด้าน pharmacometrics เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการประเมินผลิตภัณฑ์ก่อนการพัฒนาเพื่อเพิ่มโอกาสในความสำเร็จและลดต้นทุนในการวิจัยพัฒนา ข้อสรุปที่ได้จากการประชุม: คะแนนเฉลี่ยรวม = 4.22 Web link: https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activities/2626 https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/activi... SDGs Goal ที่เกี่ยวข้อง: 2,3,17 |
ลำดับ | รหัสวิชา | ระดับ | ชื่อวิชา |
1 | ภกผห ๔๑๑ | ปริญญาตรี | ปฏิบัติการอาหารและโภชนาการ |
2 | ภกผห ๔๐๑ | ปริญญาตรี | อาหารเคมี |
3 | ภกปห ๔๐๑ | ปริญญาตรี | โภชนบำบัด |
4 | ภกสฉ ๕๐๒ | ปริญญาตรี | การขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ |
5 | ภกสฉ ๕๐๑ | ปริญญาตรี | พฤกษเภสัชภัณฑ์สำหรับไทยสปา |
6 | ภกผร ๕๐๓ | ปริญญาตรี | พฤกษเภสัชศาสตร์ |
7 | ภกผฉ ๓๑๒ | ปริญญาตรี | ปฏิบัติการเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชวินิจฉัย ๒ |
8 | ภกผฉ ๓๐๒ | ปริญญาตรี | เภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชวินิจฉัย ๒ |
9 | ภกสพ ๔๐๑ | ปริญญาตรี | ภูมิปัญญาไทยกับการส่งเสริมสุขภาพ |
10 | ภกวพ ๕๐๒ | ปริญญาตรี | การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร |
11 | ภกปร ๕๐๒ | ปริญญาตรี | พฤกษบำบัดอิงหลักฐาน |
12 | ภกสพ ๔๐๑ | ปริญญาตรี | ภูมิปัญญาไทยกับการส่งเสริมสุขภาพ |
13 | ภกพพ ๓๑๒ | ปริญญาตรี | ปฏิบัติการเภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชวินิจฉัย ๑ |
14 | ภกพพ ๓๐๒ | ปริญญาตรี | เภสัชพฤกษศาสตร์และเภสัชวินิจฉัย ๑ |
สงวนลิขสิทธิ์ © 2563 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ออกแบบและพัฒนาโดยงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล |
Close [X] |
|||||
ติดต่อสอบถามพิพิธภัณฑ์พืชสมุนไพรภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล447 Thanon Si Ayutthaya, Thung Phaya Thai, Ratchathewi, Bangkok 10400
|