ร้องเรียน
|
ติดต่อเรา
|
English
Eng
เกี่ยวกับเรา
สารจากคณบดี
ประวัติความเป็นมา
วิสัยทัศน์ พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
ผู้บริหารและบุคลากร
ภาควิชาในคณะฯ
หน่วยงานในคณะฯ
รางวัลแห่งความภาคภูมิ
ข่าวและเหตุการณ์
ร่วมสนับสนุนคณะเภสัชศาสตร์ฯ
หลักสูตร/การเข้าศึกษา
ข้อมูล Admission (TCAS)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (ป.ตรี)
โรงเรียนเภสัชศาสตร์ นานาชาติ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท-ป.เอก)
ทุนการศึกษา/ผู้สนับสนุน
บริการวิชาการ
คลังความรู้สู่ประชาชน
งานประชุมวิชาการ
หน่วยงานให้บริการต่างๆ
วารสาร หนังสือ และฐานข้อมูล
สินทรัพย์ทางความรู้
ผลงานวิจัย
ข้อมูลงานวิจัยและผลงานวิจัย
ผลงานวิจัยเพื่อสังคม
ผลงานวิจัยตีพิมพ์
ผลงานวิจัยนำเสนอ
ผลงานวิจัยที่ถูกอ้างอิง
ทรัพย์สินทางปัญญา
คลังสารสนเทศ (Mahidol IR)
Download form for Human Research
นักศึกษา/บุคลากร
ข่าวและเหตุการณ์
Online Services
สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี
สำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
สำหรับอาจารย์/บุคลากร
ร่วมงานกับเรา
ข้อมูลสาธารณะ
เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ให้ดียิ่งขึ้น โปรดสละเวลา 1 นาที ในการตอบแบบสอบถามจากเรา Click !!
หน้าแรก
>
เกี่ยวกับเรา
>
บุคลากร
>
สายวิชาการ
บุคลากรสายวิชาการ
ผศ.ดร.ภก. วสุ ศุภรัตนสิทธิ
ผศ.ดร.ภก. วสุ ศุภรัตนสิทธิ
wasu.sur@mahidol.ac.th
wasu.sur@mahidol.ac.th
อาจารย์ประจำภาควิชาสรีรวิทยา , หัวหน้าภาควิชาสรีรวิทยา
อื่นๆของ วสุ ศุภรัตนสิทธิ
อื่นๆของ วสุ ศุภรัตนสิทธิ
ข้อมูลส่วนตัว
ผลงานวิจัยตีพิมพ์
ผลงานวิจัยนำเสนอ
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
บทความ
บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน
โรคน้ำหนีบ (Decompression sickness)
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว แก๊สเฉื่อยในร่างกายจะรวมตัวกันขนาดใหญ่ทำให้เกิดฟองก๊าซ (gas bubble) ไปอุดตันภายในกระแสเลือด หรือไปซึมเข้าเนื้อเยื่อของอวัยวะต่าง ๆ ภายในร่างกาย ส่งผลให้เนื้อเยื่อบาดเจ็บและเกิดอาการต่าง ๆ ตามมา ภาพจาก : https://www.u ...
ตั้งแต่ 28/05/2565 ถูกอ่านแล้ว 25,073 ครั้ง ล่าสุด 3 ช.ม.ที่แล้ว
ภาวะอักเสบหลายระบบในเด็ก (multisystem inflammatory syndrome in children; MIS-C)
กขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งคาดการณ์ว่า ส่วนใหญ่เป็นการติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์โอมิครอน (Omicron) ในระลอกนี้จะเห็นว่ามีการติดเชื้อในเด็กมากขึ้น อาจจะเป็นเพราะการได้รับวัคซีนก่อนหน้านี้ในเด็กมีค่อนข้างจำกัด โรงเรียนหลายแห่งเริ่มเปิดให้มีการเรียนการสอนมากขึ้น ...
ตั้งแต่ 27/05/2565 ถูกอ่านแล้ว 3,920 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
Long COVID-19
วครบ 10 วันแล้วและไม่มีสาเหตุอื่น องค์การอนามัยโลก (World health organization; WHO) ให้คำนิยามภาวะดังกล่าวว่า “Post COVID-19 condition” หรือที่เราเรียกกันว่า “Long COVID” หรือ “Post COVID syndrome” ซึ่งภาวะดังกล่าวจะปรากฏในผู้ที่มีประวัติยืนยันการติด ...
ตั้งแต่ 26/05/2565 ถูกอ่านแล้ว 3,806 ครั้ง ล่าสุด 6 ช.ม.ที่แล้ว
มะเร็งยูเวีย หรือมะเร็งผนังลูกตาชั้นกลาง
รอยด์ (choroid) โดยหน้าที่จะแตกต่างกันไปตามส่วนต่าง ๆ คือ ม่านตา มีหน้าที่ ควบคุมแสงให้เข้ามาในตาอย่างเหมาะสม เนื้อเยื่อซิลเลียรี่ มีหน้าที่สร้างน้ำหล่อเลี้ยงลูกตา ปรับระยะโฟกัส (focus) ใกล้ไกล และมีกล้ามเนื้อที่ใช้ในการควบคุมการไหลเวียนน้ำหล่อเลี้ยง ...
ตั้งแต่ 19/05/2564 ถูกอ่านแล้ว 6,837 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
ต้อหิน
ล้านคนทั่วโลก มีปัญหาต้อหินที่รุนแรงปานกลางจนถึงขั้นประสบปัญหาตาบอด ต้อหิน เป็นกลุ่มโรคมีความผิดปกติของขั้วประสาทตา ส่วนใหญ่เกิดจากไหลเวียนน้ำหล่อเลี้ยงลูกตาที่ผิดปกติ ทำให้ความดันลูกตาสูงขึ้ ...
ตั้งแต่ 18/05/2564 ถูกอ่านแล้ว 7,287 ครั้ง ล่าสุด 8 ช.ม.ที่แล้ว
ต้อกระจก
นคนทั่วโลก มีปัญหาต้อกระจกที่รุนแรงปานกลางจนถึงขั้นประสบปัญหาตาบอด สำหรับประเทศไทยมีการสำรวจสถานการณ์โรคตาระหว่างปี พ.ศ. 2546 – 2560 พบว่า มีผู้ป่วยตาบอดร้อยละ 0.59 สายตาเลือนรางร้อยละ 1.57 โดยมีสาเหตุมาจากต้อกระจก ต้อหิน ภาวะตาบอดในเด็ก ภาวะเบาหวานข ...
ตั้งแต่ 14/05/2564 ถูกอ่านแล้ว 6,420 ครั้ง ล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
ต้อลม-ต้อเนื้อ
ยตรง แต่มักก่อให้เกิดความรำคาญ เนื่องจากการระคายเคือง หรืออักเสบบริเวณที่มีการเกิดต้อขึ้น และหากต้อเนื้อนั้นลามเข้าไปถึงบริเวณรูม่านตา จะสามารถบดบังการมองเห็นได้ ภาพจาก : http://salujaeyecare.com/UserFiles/images/saluja-eyecare/pterygium-pi ...
ตั้งแต่ 12/05/2564 ถูกอ่านแล้ว 11,265 ครั้ง ล่าสุด 15 วินาทีที่แล้ว
ภาวะเบาหวานเข้าจอประสาทตา (เบาหวานขึ้นตา)
หรือที่เรียกว่า “เบาหวานขึ้นตา” ที่จะเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย โดยประมาณว่าร้อยละ 30 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานจะมีเบาหวานขึ้นตา และ 1 ใน 3 ของผู้ป่วยที่มีภาวะเบาหวานขึ้นตาจะมีปัญหาด้านการมองเห็นด้วย ซึ่งสัมพันธ์กับการศึกษาในประเทศไทย ปี ค.ศ. 2006 ที่พบว่า 1 ใ ...
ตั้งแต่ 06/05/2564 ถูกอ่านแล้ว 9,312 ครั้ง ล่าสุด 3 ช.ม.ที่แล้ว
PM 2.5 และมลพิษทางอากาศ ปัจจัยในการก่อให้เกิดโรคจอประสาทตาเสื่อมตามวัย (AMD)
การมองเห็นในผู้สูงอายุ มีการคาดการณ์ว่า 1 ใน 3 ของผู้ที่มีอายุมากกว่า 70 ปี มีโอกาสที่จะเป็นโรคนี้ ตัวโรคจะทำให้การมองเห็นมัว ผู้ป่วยเห็นภาพที่บิดเบี้ยวโดยเฉพาะส่วนกลางของภาพเนื่องจากจอประสาทตาถูกทำลายซึ่งจะส่งผลต่อทั้งคุณภาพชีวิตและเพิ่มค่าใช้จ่ายให ...
ตั้งแต่ 02/02/2564 ถูกอ่านแล้ว 9,760 ครั้ง ล่าสุด 3 ช.ม.ที่แล้ว
คุมกำเนิดอย่างไรดีในช่วงโรคระบาด
ป็นสาเหตุทำให้ประชาชนอยู่บ้านหรือที่พักส่วนตัวกันมากขึ้น มีเวลาพักผ่อน ไม่ต้องเผชิญปัญหาการจราจรติดขัดในทุกๆ วัน สามารถใช้ชีวิตกับสมาชิกในครอบครัวได้เพิ่มขึ้น ทำกิจกรรมที่มีความสนใจภายในบ้านหรือที่พักได้ รวมถึงโอกาสที่อาจจะทำให้คู่รักหลายคู่ได้ใช้เวล ...
ตั้งแต่ 09/04/2563 ถูกอ่านแล้ว 8,698 ครั้ง ล่าสุด 5 ช.ม.ที่แล้ว
เพราะอากาศเปลี่ยนแปลง...อารมณ์จึงแปรปรวน (Seasonal Affective Disorder; SAD)
่อาศัยอยู่ในประเทศไทยซึ่งอยู่ในบริเวณแถบเส้นศูนย์สูตร คือ มีระยะเวลาช่วงกลางวันและกลางคืนที่ใกล้เคียงกันตลอดทั้งปี ในบางประเทศอาจมีสภาพอากาศและแสงแดดที่แปรปรวน เช่น ระยะเวลากลางคืนยาวนานกว่ากลางวัน รวมไปถึงบางช่วงเวลาที่มีเมฆฝนปกคลุมตลอดสัปดาห์ ทำให้ ...
ตั้งแต่ 28/11/2561 ถูกอ่านแล้ว 8,682 ครั้ง ล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
CRISPR/Cas9 ความหวังใหม่สำหรับการรักษาโรคต่างๆ ในระดับสารพันธุกรรม
ามพยายามที่จะรักษาโรคได้แก่ การดัดแปลงสารพันธุกรรมในร่างกาย ซึ่งก็คือสายของกรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก หรือสายดีเอ็นเอ (Deoxyribonucleic acid; DNA) ที่เราคุ้นเคยกันว่าเป็นต้นแบบในการแสดงซึ่งลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตนั่นเอง ให้มีความเหมาะสมต่อการดำรงชีวิ ...
ตั้งแต่ 02/11/2559 ถูกอ่านแล้ว 82,050 ครั้ง ล่าสุด 4 ช.ม.ที่แล้ว
ดูแลไตอย่างไร...ให้อยู่กับเราไปนานๆ
กายและหน้าที่อื่นอีกหลายอย่าง ดังนั้นการดูแลไตจึงเป็นสิ่งจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับทุกรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อที่ไตจะได้คงสภาพการทำงานต่อไปได้ ตำแหน่งและลักษณะของไต &n ...
ตั้งแต่ 30/11/2557 ถูกอ่านแล้ว 247,050 ครั้ง ล่าสุด 2 ช.ม.ที่แล้ว
รับมือโรคหวัดอย่างไร ให้เหมาะสม
วะที่ภูมิคุ้มกันของร่างกายลดลง เช่น เครียด พักผ่อนไม่เพียงพอ ซึ่งการแก้ไขอาการที่เกิดขึ้นในเบื้องต้นอาจใช้ยาสามัญประจำบ้านเพื่อบรรเทาอาการก่อน เช่นพาราเซตามอล (paracetamol) สำหรับลดไข้ คลอเฟนนิรามีน (chlorpheniramine) สำหรับลดน้ำมูก รวมทั้งพักผ่อนให้ ...
ตั้งแต่ 02/03/2557 ถูกอ่านแล้ว 227,681 ครั้ง ล่าสุด 2 ช.ม.ที่แล้ว
ยาตีกันในผู้ป่วยโรคมะเร็ง
ง เนื่องจากขนาดยาที่เหมาะสมจะอยู่ในช่วงแคบๆ กล่าวคือ เมื่อใช้ในขนาดต่ำเกินไปจะไม่ให้ผลในการรักษา แต่เมื่อใช้ในขนาดสูงเกินไปกลับทำให้เกิดอาการข้างเคียงมากขึ้นและอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ จึงต้องมีวิธีการคำนวณขนาดยาโดยอ้างอิงตามพื้นที่ผิวร่างกายของผู้ป ...
ตั้งแต่ 27/10/2556 ถูกอ่านแล้ว 45,006 ครั้ง ล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
ยาต้านมะเร็ง
่า chemotherapy รวมไปถึงชื่อเรียกสั้นๆว่า ยามะเร็ง จุดมุ่งหมายในการใช้มีหลายประการด้วยกัน เช่น การให้ยาก่อนการผ่าตัดเพื่อลดขนาดก้อนมะเร็ง หรือการให้ยาหลังการผ่าตัดเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง นอกจากนั้นยังให้ยาเพื่อรักษามะเร็งโดยตรง ซึ่งสา ...
ตั้งแต่ 21/10/2556 ถูกอ่านแล้ว 102,627 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
สารจากคณบดี
ประวัติความเป็นมา
วิสัยทัศน์ และ พันธกิจ
ผังโครงสร้างองค์กร
ผู้บริหารและบุคลากร
ภาควิชาต่างๆในคณะฯ
หน่วยงานต่างๆในคณะฯ
รางวัลแห่งความภาคภูมิ
Switch to English Version
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
447 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
ดูเบอร์ติดต่อหน่วยงานต่างๆ
|
ดูข้อมูลการเดินทางและแผนที่
เกี่ยวกับเภสัชมหิดล
หลักสูตรปริญญาตรี
หลักสูตรบัณฑิตศึกษา
บริการวิชาการ
สำหรับนักศึกษา ป.ตรี
สำหรับนักศึกษาบัณฑิตฯ
เว็บไซต์นี้ออกแบบและพัฒนาโดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนการสอน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Copyright © 2013-2024
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้
เราใช้เทคโนโลยีคุกกี้เพื่อช่วยให้เว็บไซต์ทำงานได้อย่างถูกต้อง การเปิดให้ใช้คุณสมบัติทางโซเชียลมีเดีย และเพื่อวิเคราะห์การเข้าเว็บไซต์ของเรา การใช้งานเว็บไซต์ต่อถือว่าคุณยอมรับการใช้งานคุกกี้
ยอมรับ