ร้องเรียน
|
ติดต่อเรา
|
English
Eng
เกี่ยวกับเรา
สารจากคณบดี
ประวัติความเป็นมา
วิสัยทัศน์ พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
ผู้บริหารและบุคลากร
ภาควิชาในคณะฯ
หน่วยงานในคณะฯ
รางวัลแห่งความภาคภูมิ
ข่าวและเหตุการณ์
ร่วมสนับสนุนคณะเภสัชศาสตร์ฯ
หลักสูตร/การเข้าศึกษา
ข้อมูล Admission (TCAS)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (ป.ตรี)
โรงเรียนเภสัชศาสตร์ นานาชาติ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (ป.โท-ป.เอก)
ทุนการศึกษา/ผู้สนับสนุน
บริการวิชาการ
คลังความรู้สู่ประชาชน
งานประชุมวิชาการ
หน่วยงานให้บริการต่างๆ
วารสาร หนังสือ และฐานข้อมูล
สินทรัพย์ทางความรู้
ผลงานวิจัย
ข้อมูลงานวิจัยและผลงานวิจัย
ผลงานวิจัยเพื่อสังคม
ผลงานวิจัยตีพิมพ์
ผลงานวิจัยนำเสนอ
ผลงานวิจัยที่ถูกอ้างอิง
ทรัพย์สินทางปัญญา
คลังสารสนเทศ (Mahidol IR)
Download form for Human Research
นักศึกษา/บุคลากร
ข่าวและเหตุการณ์
Online Services
สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี
สำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
สำหรับอาจารย์/บุคลากร
ร่วมงานกับเรา
ข้อมูลสาธารณะ
เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ให้ดียิ่งขึ้น โปรดสละเวลา 1 นาที ในการตอบแบบสอบถามจากเรา Click !!
หน้าแรก
>
เกี่ยวกับเรา
>
บุคลากร
>
สายวิชาการ
บุคลากรสายวิชาการ
รศ.ดร. คณิสส์ เสงี่ยมสุนทร
รศ.ดร. คณิสส์ เสงี่ยมสุนทร
khanit.san@mahidol.ac.th
khanit.san@mahidol.ac.th
อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี
อื่นๆของ คณิสส์ เสงี่ยมสุนทร
อื่นๆของ คณิสส์ เสงี่ยมสุนทร
ข้อมูลส่วนตัว
ผลงานวิจัยตีพิมพ์
ผลงานวิจัยนำเสนอ
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
บทความ
บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน
รู้เท่าทัน ภาวะลิ่มเลือดอุดตันร่วมกับเกล็ดเลือดต่ำภายหลังฉีดวัคซีน โควิด-19
ในระยะเวลาอันสั้น วัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ถือเป็นความหวังสูงสุดในการหยุดการติดต่อของโรคร้ายนี้ ประเทศไทยได้เริ่มการฉีดวัคซีนโควิด-19 ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์เป็นต้นมา อย่างไรก็ตามผลข้างเคียงของการฉีดวัคซีนโควิด-19 เป็นประเด็นที่ประชาชนให้ความสำคัญอย่า ...
ตั้งแต่ 15/06/2564 ถูกอ่านแล้ว 37,519 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
ดูแลเด็กอย่างไรในช่วงโควิด-19 ระบาด
อน อดทน ใส่ใจ มากกว่าในวัยอื่น ๆ ท่านผู้อ่านหลายท่านอาจสามารถปรับตัวเข้ากับการจำกัดบริเวณอยู่ในบ้านได้บ้างแล้ว แต่ในหลายครอบครัวยังคงมีความเครียด วิตกกังวล เนื่องจากในครอบครัวท่านมีสมาชิกต่างวัยอาศัยอยู่ร่วมกันโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ครอบครัวที่มีลูกน้อย ห ...
ตั้งแต่ 08/04/2563 ถูกอ่านแล้ว 14,415 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
เก็บตัวอยู่บ้านอย่างไร รอดโควิด เพื่อนไม่หาย งานไม่ขาด
ัยอยู่ในบ้าน หรือ home quarantine อาจจะดูเหมือนเป็นเรื่องง่ายๆ หรือ บ้านๆ ตามภาษาที่คนส่วนใหญ่เข้าใจ แต่แท้ที่จริงแล้ว การจำกัดบริเวณอาศัยในบ้านนี้เป็นส่วนสำคัญในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 หรือโรคระบาดติดเชื้อชนิดอื่นๆ ด้วยสาเหตุดังกล่าวนี้ ...
ตั้งแต่ 03/04/2563 ถูกอ่านแล้ว 16,350 ครั้ง ล่าสุด 5 ช.ม.ที่แล้ว
ตรวจสุขภาพประจำปีอย่างไร ครอบคลุม คุ้มครอง คุ้มค่า?
าพ (health business) เกิดขึ้นมากมาย ผู้อ่านหลายท่านอาจได้รับคำแนะนำให้ไปตรวจสุขภาพประจำปี ณ สถานพยาบาลอยู่บ่อยครั้ง อาจได้รับชมสื่อโฆษณาแบบแผนการประกันสุขภาพที่รวมโปรแกรมตรวจสุขภาพ ชูโรงเป็นจุดขาย รวมถึงการได้รับการเชิญชวนไปตรวจในรายการต่าง ๆ เช่น โป ...
ตั้งแต่ 27/01/2562 ถูกอ่านแล้ว 11,600 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
มะเร็งตับ รู้เร็ว วินิจฉัยเร็ว รักษาหายได้
(vital organs) อวัยวะเหล่านี้ได้แก่ สมอง หัวใจ ไต ตับ และ ปอด ถ้าหากเกิดโรคหรือความผิดปกติกับอวัยวะเหล่านี้ เราจะไม่สามารถมีชีวิตอย่างปกติสุขได้ จากสภาพแวดล้อมและสังคมในปัจจุบัน อวัยวะที่รับบทหนักในการทำงานเพื่อรักษาสมดุลร่างกาย กำจัดสารพิษ หรือแม้แ ...
ตั้งแต่ 21/02/2561 ถูกอ่านแล้ว 64,756 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
ลูกตัวเหลือง เรื่องไม่เล็กของเด็กเปลี่ยนสี
มผิดปกติใด แต่หลังจากนั้นสองสามวันถัดมาคุณพ่อคุณแม่มือใหม่หรือแม้แต่มืออาชีพหลายคนอาจพบภาวะตัวเหลืองในลูกน้อยและเกิดความวิตกกังวลอย่างมาก แม้ว่าภาวะตัวเหลืองในทารกอาจมิใช่เรื่องใหม่ไกลตัวอีกต่อไป เนื่องจากเป็นภาวะที่พบได้บ่อยและมีนักวิชาการหลายท่านอ ...
ตั้งแต่ 31/03/2560 ถูกอ่านแล้ว 166,819 ครั้ง ล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
ลูกดูดนมยาก - ภาวะลิ้นติดในทารก
เนื่องจากนมแม่มีสารอาหารครบถ้วนทางด้านโภชนาการและช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน การให้ทารกได้รับนมแม่เป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 6 เดือน นอกจากจะเป็นการเสริมสร้างความแข็งแรงของทารกแล้ว ช่วงเวลาให้นมยังถือว่าเป็นช่วงเวลาที่มีความสุขของลูกน้อยที่ได้รับไออุ่นจากอ้อม ...
ตั้งแต่ 04/09/2559 ถูกอ่านแล้ว 37,649 ครั้ง ล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
ห่อตัวทารกอย่างไร ปลอดภัยจากโรคไหลตาย
ารปกป้องดูแลอย่างดีภายในร่างกายของคุณแม่ ทารกจะลอยตัวอยู่ในถุงน้ำคร่ำที่มีอุณหภูมิเหมาะสม ทำให้ทารกรู้สึกสบาย ทารกใช้โลกใบน้อยแห่งนี้เป็นที่หลับนอน ผลิกตัวเล่นซน ทานอาหาร ขับถ่าย ถุงน้ำคร่ำจึงเปรียบเหมือนเกราะคุ้มภัยที่แข็งแรงแต่อ่อนนุ่ม แต่เมื่อทารก ...
ตั้งแต่ 29/05/2559 ถูกอ่านแล้ว 58,986 ครั้ง ล่าสุด 7 ช.ม.ที่แล้ว
โรคไหลตายในทารก!! ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม
ขึ้นมาดูโลก สำหรับคู่สามีภรรยาที่ประสบปัญหาการมีบุตรยากด้วยแล้ว ลูกคนแรกนี้ย่อมเป็นส่วนสำคัญในการเติมเต็มชีวิตครอบครัวให้สมบูรณ์ การเลี้ยงเด็กทารกคนแรกอาจเป็นภาระที่สำคัญสำหรับพ่อแม่มือใหม่ เนื่องจากทั้งคู่ยังขาดประสบการณ์และสืบเนื่องจากสภาพสังคมเมือ ...
ตั้งแต่ 18/05/2559 ถูกอ่านแล้ว 68,634 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
NIFTY Test มิติใหม่ของการตรวจโรคพันธุกรรมทารกในครรภ์
พ่อคนหรือแม่คนนั้น ย่อมหนีไม่พ้นคำถามที่ว่าลูกน้อยที่กำลังจะลืมตาขึ้นมาดูโลกเป็นลูกชายหรือลูกสาว จะมีหน้าตาน่ารักเหมือนพ่อกับแม่หรือไม่ นอกจากสองคำถามนี้แล้ว ประเด็นเรื่องสุขภาพของทารกในครรภ์ เช่นมีพัฒนาการที่สมบูรณ์แข็งแรง มีอวัยวะครบถ้วนและปราศจากโ ...
ตั้งแต่ 25/02/2558 ถูกอ่านแล้ว 153,134 ครั้ง ล่าสุด 2 ช.ม.ที่แล้ว
สเต็มเซลล์ (Stem Cell); เซลล์ต้นกำเนิด ตอนที่ 2: รู้จักเซลล์ต้นกำเนิดไอพีเอส ?
ตอนที่ 2 เรามาทำความรู้จักกับเซลล์ต้นกำเนิดชนิดใหม่ ซึ่งถูกพัฒนาสำเร็จครั้งแรกในปี พศ. 2549 เซลล์ชนิดนี้คือสเต็มเซลล์ต้นกำเนิดตัวอ่อนที่พัฒนามาจากเซลล์ร่างกาย ผู้อ่านหลายท่านคงเคยได้ยินคำเรียกเซลล์ชนิดใหม่นี้แตกต่างกันไปเช่น เซลล์ไอพีเอสหรือเซลล์ไอพี ...
ตั้งแต่ 29/06/2557 ถูกอ่านแล้ว 49,699 ครั้ง ล่าสุด 5 ช.ม.ที่แล้ว
สเต็มเซลล์ (Stem Cell); เซลล์ต้นกำเนิด ตอนที่1: สเต็มเซลล์คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร?
ล์ต้นกำเนิดในสื่อต่างๆ ไม่ว่าจะผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ผ่านทางโทรทัศน์ ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ หรือแม้แต่ผ่านเพื่อนร่วมงาน ส่วนมากมักบรรยายถึงประโยชน์หรือความเป็นไปได้ในการใช้เซลล์ต้นกำเนิดรักษาโรค การชลอวัย หรือแม้แต่การนำไปใช้ในเรื่องความสวยความงาม และ ...
ตั้งแต่ 08/06/2557 ถูกอ่านแล้ว 231,965 ครั้ง ล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
สารจากคณบดี
ประวัติความเป็นมา
วิสัยทัศน์ และ พันธกิจ
ผังโครงสร้างองค์กร
ผู้บริหารและบุคลากร
ภาควิชาต่างๆในคณะฯ
หน่วยงานต่างๆในคณะฯ
รางวัลแห่งความภาคภูมิ
Switch to English Version
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
447 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
ดูเบอร์ติดต่อหน่วยงานต่างๆ
|
ดูข้อมูลการเดินทางและแผนที่
เกี่ยวกับเภสัชมหิดล
หลักสูตรปริญญาตรี
หลักสูตรบัณฑิตศึกษา
บริการวิชาการ
สำหรับนักศึกษา ป.ตรี
สำหรับนักศึกษาบัณฑิตฯ
เว็บไซต์นี้ออกแบบและพัฒนาโดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนการสอน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Copyright © 2013-2024
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้
เราใช้เทคโนโลยีคุกกี้เพื่อช่วยให้เว็บไซต์ทำงานได้อย่างถูกต้อง การเปิดให้ใช้คุณสมบัติทางโซเชียลมีเดีย และเพื่อวิเคราะห์การเข้าเว็บไซต์ของเรา การใช้งานเว็บไซต์ต่อถือว่าคุณยอมรับการใช้งานคุกกี้
ยอมรับ