เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ให้ดียิ่งขึ้น โปรดสละเวลา 1 นาที ในการตอบแบบสอบถามจากเรา Click !!

บุคลากรสายวิชาการ


ดร.ภก. อนันต์ชัย อัศวเมฆิน

ดร.ภก. อนันต์ชัย อัศวเมฆิน

anunchai.asa@mahidol.ac.th

anunchai.asa@mahidol.ac.th
อาจารย์ประจำภาควิชาเภสัชวิทยา

บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน


น้ำหนักขึ้นง่าย สิวไม่หาย! … สัญญาณ "ภาวะลำไส้รั่ว"
ข้เจ็บทั้งหลายเริ่มต้นที่ลำไส้" ดูเหมือนคำกล่าวเหล่านี้จะเริ่มสะท้อนความจริงด้านสุขภาพของคนในสังคมปัจจุบันมากขึ้น เพราะทุกสิ่งที่เรารับประทานเข้าไป ล้วนต้องผ่านการย่อยและดูดซึมที่ลำไส้เล็กท ... ตั้งแต่ 18/10/2562 ถูกอ่านแล้ว 40,530 ครั้ง ล่าสุด 16 นาทีที่แล้ว
ยาตีกันกับความหลากหลายทางพันธุกรรม
แม้เป็นยาชนิดเดียวกันแต่อาจให้ผลการรักษาที่แตกต่างกันอันเกิดจากความผันแปรของหลายปัจจัย อาทิเช่น พยาธิสภาพ สิ่งแวดล้อม พฤติกรรม (เช่น อาหาร การสูบบุหรี่ ฯลฯ) รวมถึงลักษณะทางพันธุกรรมของผู้ป่วย เช่น ความผิดแผกทางพันธุกรรมของเอนไซม์เปลี่ยนแปลงยา (meta ... ตั้งแต่ 03/09/2560 ถูกอ่านแล้ว 11,365 ครั้ง ล่าสุด 6 ช.ม.ที่แล้ว
การคัดเลือกยาเข้าโรงพยาบาล ตามวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) และการประเมินค่าประสิทธิภาพต่อราคา (price performance)
งพระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ซึ่งกำลังอยู่ในช่วงการพิจารณาและจะมีผลบังคับใช้กำหนดให้การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐจะต้องมีกรอบการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งรวมถึงกรอบการจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีประกวด ... ตั้งแต่ 04/12/2559 ถูกอ่านแล้ว 19,807 ครั้ง ล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
ปัญหาการคัดเลือกยาชีววัตถุในศตวรรษที่ 21
p; คงปฏิเสธไม่ได้ว่าการรักษาที่เป็นมาตรฐานของโรคนั้นมีการใช้ผลิตภัณฑ์ยาชีววัตถุกันอย่างกว้างขวาง เช่น epoetin, monoclonal antibody, granulocyte stimulating factor เป็นต้น ในประเด็นของประสิทธิภาพและความปลอดภัยจากการใช้ยาชีววั ... ตั้งแต่ 05/09/2557 ถูกอ่านแล้ว 12,394 ครั้ง ล่าสุด 10 ช.ม.ที่แล้ว
เภสัชพันธุศาสตร์ ศาสตร์ใหม่ในการรักษาโรค (Pharmacogenetics and Pharmacogenomics)
องยีนที่มีความเกี่ยวข้องกับพยาธิกำเนิดระดับโมเลกุล และยีนก่อความเสี่ยงต่อโรคมีมากขึ้น ความรู้ดังกล่าวจะเป็นประโยชน์โดยตรงต่อการรักษาโรคในเวชปฏิบัติและนำไปสู่การพัฒนาวิธีการรักษาโรคที่จำเพาะตามพื้นฐานทางพันธุกรรมของแต่ละบุคคล ข้อมูลความรู้จำนวนมหาศาลท ... ตั้งแต่ 29/08/2557 ถูกอ่านแล้ว 33,971 ครั้ง ล่าสุด 8 ช.ม.ที่แล้ว
ยาชีววัตถุคล้ายคลึง (Biosimilars)
กษาโรคมานานพอควรและได้รับการยอมรับว่าสามารถรักษาโรคที่เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตรวมทั้งโรคเรื้อรังได้จริง อย่างไรก็ตามเนื่องด้วยต้นทุนที่สูง ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวจึงมีข้อจำกัดในการเข้าถึงของผู้ป่วยโดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนา แต่ไม่นานนี้สิทธิบัตรและ/หรือ ... ตั้งแต่ 05/01/2557 ถูกอ่านแล้ว 45,635 ครั้ง ล่าสุด 7 ช.ม.ที่แล้ว

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

447 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

ดูเบอร์ติดต่อหน่วยงานต่างๆ | ดูข้อมูลการเดินทางและแผนที่

เว็บไซต์นี้ออกแบบและพัฒนาโดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนการสอน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Copyright © 2013-2024
 

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้

เราใช้เทคโนโลยีคุกกี้เพื่อช่วยให้เว็บไซต์ทำงานได้อย่างถูกต้อง การเปิดให้ใช้คุณสมบัติทางโซเชียลมีเดีย และเพื่อวิเคราะห์การเข้าเว็บไซต์ของเรา การใช้งานเว็บไซต์ต่อถือว่าคุณยอมรับการใช้งานคุกกี้