เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ให้ดียิ่งขึ้น โปรดสละเวลา 1 นาที ในการตอบแบบสอบถามจากเรา Click !!

บุคลากรอาจารย์อาวุโส


รศ.ดร.ภญ. บุษบา จินดาวิจักษณ์

รศ.ดร.ภญ. บุษบา จินดาวิจักษณ์

busba.chi@mahidol.ac.th

busba.chi@mahidol.ac.th
อาจารย์ประจำภาควิชาเภสัชกรรม , รองคณบดีฝ่ายบริหารและทรัพยากรบุคคล

บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน


วิธีปฏิบัติตัวเบื้องต้นเพื่อป้องกันผลข้างเคียงจากการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19
ชาชนกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคเรื้อรังต่างๆ ผู้ที่มีภาวะอ้วน และบุคลากรทางการแพทย์ที่ปฏิบัติงานในด่านหน้า จำนวน 2 ชนิดด้วยกัน คือ วัคซีนโคโรนาแวค หรือ ซิโนแวค (CoronaVac หรือ Sinovac COVID-19 vaccine) และวัคซีนป้องกันโควิด-19 แอสตร้าเซเน ... ตั้งแต่ 03/05/2564 ถูกอ่านแล้ว 20,538 ครั้ง ล่าสุด 2 ช.ม.ที่แล้ว
ผู้ป่วยโรคไต กักตัวอยู่บ้านอย่างไรในช่วงโควิด-19
ห้มีการแพร่กระจายที่ง่ายขึ้นมากกว่าปกติ หน่วยงานทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชนจึงมีมาตรการส่งเสริมให้ทำงานจากบ้าน (work from home) การเรียนออนไลน์ กันมากขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ภาพจาก : https://static.thairath.co.th/media/4DQpjUtzLUwm ... ตั้งแต่ 22/04/2564 ถูกอ่านแล้ว 17,694 ครั้ง ล่าสุด 1 วันที่แล้ว
การใช้ธาตุเหล็กแก้ภาวะโลหิตจาง
จางอาจไม่แสดงอาการ หรือมีอาการโดยขึ้นกับความรุนแรงของภาวะโลหิตจาง เช่น อ่อนเพลีย ซีด วิงเวียนศีรษะ เหนื่อยง่ายกว่าปกติ ซึ่งเป็นผลจากการที่ออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะและเนื้อเยื่อต่างๆ ได้น้อยลง โดยภาวะโลหิตจางนั้นเกิดได้จากหลายสาเหตุ3 เช่น ภา ... ตั้งแต่ 23/07/2563 ถูกอ่านแล้ว 65,023 ครั้ง ล่าสุด 10 นาทีที่แล้ว
ยาแก้หวัดสำหรับเด็ก
ทย์รักษา ผู้ปกครองบางท่านก็ไปร้านยาเพื่อหาซื้อยาลดน้ำมูกหรือยาบรรเทาอาการหวัดไปก่อน บางท่านก็เอายาที่เหลืออยู่จากครั้งก่อนมาให้ไปก่อน แต่ไม่ว่าท่านจะทำอย่างไร ท่านก็จะต้องมีการนำยามาให้ลูกน้อยรับประทาน ซึ่งยาเหล่านี้มีประเด็นที่ท่านควรรู้และทำความเข้ ... ตั้งแต่ 21/07/2563 ถูกอ่านแล้ว 132,965 ครั้ง ล่าสุด 6 นาทีที่แล้ว
การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในปี พ.ศ. 2563
ระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค 506 กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้รายงานสถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ประเทศไทย พ.ศ. 2563 ประจำสัปดาห์ที่ 24 ระหว่างวันที่ 1 มกราคม – 20 มิถุนายน พ.ศ. 2563 พบผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่และกลุ่มอาการปอดบวมน้อ ... ตั้งแต่ 19/07/2563 ถูกอ่านแล้ว 8,460 ครั้ง ล่าสุด 7 ช.ม.ที่แล้ว
ผู้ป่วยที่เป็นโรคโควิด-19 (COVID-19) สามารถกลับมาเป็นซ้ำอีกครั้งได้หรือไม่
ูลไม่มากนัก การศึกษาเบื้องต้นในลิงโดยการทำให้ติดเชื้อซ้ำ พบว่า ลิงจะสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้ป้องกันการติดเชื้อซ้ำได้1 ภาพจาก : https://healthsystemsglobal.org/wp-content/uploads/2020/05/3GPdnboQ.jpeg ... ตั้งแต่ 17/07/2563 ถูกอ่านแล้ว 134,511 ครั้ง ล่าสุด 10 ช.ม.ที่แล้ว
ไมเกรน กับ แมกนีเซียม
่น ช็อกโกแลต ยาบางชนิด เช่น ฮอร์โมนคุมกำเนิด แสงสว่างที่มากเกินไป การนอนหลับไม่เพียงพอ ซึ่งการรักษาไมเกรนในเบื้องต้นคือการหลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้น แต่ในหลายครั้งเราก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นเหล่านี้ได้ เนื่องจากหน้าที่การงานที่บังคับให้ต้องสัม ... ตั้งแต่ 15/07/2563 ถูกอ่านแล้ว 31,785 ครั้ง ล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
วิตามินดี ป้องกันกระดูกหัก.....จริงหรือ
ง ละลายได้ดีในไขมัน จึงพบวิตามินดีในอาหารที่มีไขมันสูง เช่น ปลาแซลมอน ปลาซาร์ดีน ปลาแมคเคอเรล ปลาทูน่า ไข่แดง และตับ ร่างกายของเรายังสามารถสร้างวิตามินดีขึ้นได้เอง โดยเมื่อผิวหนังถูกแสงแดด จะเกิดการปลี่ยนสารชนิดหนึ่งที่ผิวหนัง สารนี้มีชื่อเรียกว่า 7- ... ตั้งแต่ 13/07/2563 ถูกอ่านแล้ว 23,537 ครั้ง ล่าสุด 12 ช.ม.ที่แล้ว
แคลเซียมกับโรคกระดูกพรุน ตอนที่ 2 ?
bsp; มียาหลายชนิดที่แนะนำให้ใช้ในการรักษา หนึ่งในนั้นคือ แคลเซียม โดยมีจุดประสงค์เพื่อเพิ่มแร่ธาตุที่เป็นองค์ประกอบของกระดูก ทำให้กระดูกแข็งแกร่ง นอกจากนี้ยังช่วยในการคงระดับแคลเซียมตามที่ร่างกายต้องการ ทำใ ... ตั้งแต่ 02/09/2557 ถูกอ่านแล้ว 139,801 ครั้ง ล่าสุด 15 ช.ม.ที่แล้ว
แคลเซียมกับโรคกระดูกพรุน ตอนที่ 1 ?
ี้ก่อน กระดูกประกอบด้วยอะไรบ้าง กระดูกประกอบด้วย โปรตีนหนึ่งในสามส่วน อีกสองในสามส่วนเป็นเกลือแร่ โปรตีนที่เป็นเนื้อกระดูกนี้ส่วนใหญ่เป็นคอลลาเจน ส่วนเกลือแร่ที่อยู่ในกระดูกคือแคลเซียม ก ... ตั้งแต่ 01/09/2557 ถูกอ่านแล้ว 38,139 ครั้ง ล่าสุด 9 ช.ม.ที่แล้ว
ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง...ใช้อย่างไร
ลหิตสูง อย่างไรก็ตาม ผู้สูงอายุที่อ้วน มีไขมันในเลือดสูง หรือ สูบบุหรี่ มีโอกาสเป็นโรคนี้มาก ผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงแล้ว จำเป็นต้องได้รับยาลดความดันโลหิต มิฉะนั้นจะเกิดปัญหาร้ายแรงตามมา ได้แก่ ภาวะหัวใจวาย โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และหล ... ตั้งแต่ 12/01/2554 ถูกอ่านแล้ว 724,925 ครั้ง ล่าสุด 1 นาทีที่แล้ว
ยารักษาโรคกระดูกพรุน ใช้อย่างไร?
ยพบในเด็กๆ และคนหนุ่มสาว ยกเว้นแต่กรณีที่มีภาวะปัจจัยเสี่ยง เหตุผลที่เด็กและคนหนุ่มสาวไม่เป็นโรคกระดูกพรุน เนื่องจากวัยเด็ก ร่างกายจะเติบโต มีการสร้างเนื้อกระดูกอยู่ตลอดเวลา เด็กจึงตัวโตขึ้น สูงขึ้น การสะสมเนื้อกระดูกจะมากและเร็วในช่วงก่อนเข้าสู่วัยร ... ตั้งแต่ 20/12/2553 ถูกอ่านแล้ว 180,539 ครั้ง ล่าสุด 3 ช.ม.ที่แล้ว
ยาแก้ปวดข้อ ใช้รักษาข้อเสื่อม ใช้อย่างไร?
จะมีอาการปวดตามข้อใหญ่ๆ ที่มีการเคลื่อนไหวมากหรือข้อที่รับน้ำหนักมาก เช่น ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อเท้า โรคนี้เกิดจากความเสื่อมสภาพของกระดูกอ่อนที่บุปลายกระดูกข้อ เป็นเหตุให้ผิวของกระดูกอ่อนเปลี่ยนสภาพจากผิวเรียบมัน กลายเป็นผิวขรุขระ เป็นผลให้การเคล ... ตั้งแต่ 20/12/2553 ถูกอ่านแล้ว 174,253 ครั้ง ล่าสุด 10 นาทีที่แล้ว
ยารักษาโรคเบาหวาน ใช้อย่างไร
านเป็นโรคที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินสุลินได้ในปริมาณที่สูงพอที่จะจัดการเก็บน้ำตาลจากเลือดเข้าเซลล์เพื่อทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดกลับสู่ค่าปกติ ผู้ป่วยจึงเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูง โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่ห ... ตั้งแต่ 08/11/2553 ถูกอ่านแล้ว 151,393 ครั้ง ล่าสุด 17 วินาทีที่แล้ว
เมื่อสูงวัย...ร่างกายเปลี่ยน...แล้วผลการรักษาของยาล่ะ...เปลี่ยนด้วยไหม
่เห็นแต่เจ้าตัวรู้สึกได้ เช่น เหนื่อยง่าย ลุกนั่งลำบาก ปวดตามข้อ นอนไม่หลับ ท้องผูก หากตรวจดูการทำหน้าที่ของอวัยวะในร่างกายก็พบความเปลี่ยนแปลงหลายประการ เช่น หัวใจมีแรงบีบตัวน้อยลง กล้ามเนื้อหัวใจมีขนาดโตขึ้น ไตทำหน้าที่เสื่อมถอยลง ลำไส้บีบตัวน้อยลง ... ตั้งแต่ 18/10/2553 ถูกอ่านแล้ว 21,546 ครั้ง ล่าสุด 3 ช.ม.ที่แล้ว
รูปแบบยา...มีกี่แบบ...ใช้อย่างไร
าขี้ผึ้ง ยาปราศจากเชื้อยาเหน็บ เป็นต้น ยาเหล่านี้มีองค์ประกอบอยู่ 2 ส่วนคือ ตัวยาสำคัญ และ ตัวยาไม่สำคัญ ตัวยาสำคัญจะเป็นส่วนประกอบที่มีฤทธิ์ในการรักษา ส่วนใหญ่ตัวยาสำคัญจะถูกปลดปล่อยออกจากรูปแบบยาทั้งหมดในคราวเดียวทันที (prompt release)เมื่อยาถูกนำไ ... ตั้งแต่ 12/10/2553 ถูกอ่านแล้ว 242,535 ครั้ง ล่าสุด 13 นาทีที่แล้ว

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

447 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

ดูเบอร์ติดต่อหน่วยงานต่างๆ | ดูข้อมูลการเดินทางและแผนที่

เว็บไซต์นี้ออกแบบและพัฒนาโดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนการสอน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Copyright © 2013-2024
 

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้

เราใช้เทคโนโลยีคุกกี้เพื่อช่วยให้เว็บไซต์ทำงานได้อย่างถูกต้อง การเปิดให้ใช้คุณสมบัติทางโซเชียลมีเดีย และเพื่อวิเคราะห์การเข้าเว็บไซต์ของเรา การใช้งานเว็บไซต์ต่อถือว่าคุณยอมรับการใช้งานคุกกี้