เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ให้ดียิ่งขึ้น โปรดสละเวลา 1 นาที ในการตอบแบบสอบถามจากเรา Click !!

บุคลากรอาจารย์อาวุโส


รศ.นาง แม้นสรวง วุฒิอุดมเลิศ

รศ.นาง แม้นสรวง วุฒิอุดมเลิศ

mansuang.wut@mahidol.ac.th

mansuang.wut@mahidol.ac.th
อาจารย์ประจำภาควิชาจุลชีววิทยา , หัวหน้าฝ่ายจุลชีววิทยา ศูนย์วิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์

บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน


อุจจาระ รักษาโรค ??? Fecal Microbiota Transplantation (FMT)
างชนิดช่วยป้องกันการบุกรุกจู่โจมจากจุลินทรีย์ก่อโรค ตัวอย่างเช่น โยเกิร์ต ซึ่งเต็มไปด้วยจุลินทรีย์ชนิดดี ผู้บริโภคจึงมักศึกษาฉลากว่า ในถ้วยหรือขวดนั้นๆ มีจุลินทรีย์กี่ล้านตัว หมดอายุหรือยังเพราะเราต้องการกินจุลินทรีย์ตัวเป็นๆ &n ... ตั้งแต่ 02/11/2557 ถูกอ่านแล้ว 39,529 ครั้ง ล่าสุด 2 ช.ม.ที่แล้ว
พยาธิใบไม้และปัจจัยเสี่ยงมะเร็งตับ
เป็นมะเร็งตับจากพยาธิใบไม้ ก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งด้านสุขภาพ แรงงาน เศรษฐกิจ เราสามารถแบ่งกลุ่มพยาธิโดยอาศัยรูปร่างลักษณะได้เป็น 2 แบบใหญ่ ได้แก่ พยาธิตัวกลม (nematodes) และพยาธิตัวแบน ที่ ... ตั้งแต่ 20/07/2557 ถูกอ่านแล้ว 30,701 ครั้ง ล่าสุด 4 ช.ม.ที่แล้ว
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากรา Exserohilum rostratum : ปรากฏการณ์ในปี 2555
s fungi เนื่องจากสร้างเม็ดสีได้ ทำให้เห็นรากลุ่มนี้มีสีเข้ม เช่น น้ำตาล ดำ เขียวออกดำ เป็นต้น พบได้ในธรรมชาติทั่วโลก เช่นจากดิน หญ้า พืชต่างๆ โดยเฉพาะแหล่งที่มีการเพาะปลูกและมีการก่อโรคเกิดขึ้น เช่น การเกิดโคนเน่าของข้าวสาลีและพืชตระกูลหญ้า โรคขอบใบแ ... ตั้งแต่ 30/10/2556 ถูกอ่านแล้ว 17,310 ครั้ง ล่าสุด 18 ช.ม.ที่แล้ว
เชื้อโปรโตซัว และจิตเภท
ญญพืช-ผลผลิตทางเกษตร ในปัจจุบันแมวเป็นสัตว์เลี้ยงยอดนิยมประจำบ้าน ที่แน่นอนว่าต้องเกี่ยวข้องกับโรค-เชื้อก่อโรคชนิดต่างๆได้แก่ แบคทีเรีย โรคจากรา โปรโตซัว และพยาธิ แต่โรคทางจิตเภทมีความสัมพันธ์เช่นใดกับแมว &n ... ตั้งแต่ 09/10/2556 ถูกอ่านแล้ว 60,887 ครั้ง ล่าสุด 3 ช.ม.ที่แล้ว
การล้างไซนัสด้วยตนเอง...ปลอดภัยหรือไม่?
ซนัสด้วยตนเอง ไม่ว่าจะที่บ้านหรือที่ทำงาน...ปลอดภัยหรือไม่ โดยทำการล้างไซนัสตนเองด้วยอุปกรณ์และน้ำยา (หรือน้ำเกลือ) ที่จัดขายเป็นชุดและเป็นที่รู้จักกันทั่วไป โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ที่มีอาการภูมิแพ้ แน่นจมูก ผู้มีอาการหวัด หรือช่องจมูกแห้งจากการที่อยู่ในห ... ตั้งแต่ 25/09/2556 ถูกอ่านแล้ว 26,886 ครั้ง ล่าสุด 7 ช.ม.ที่แล้ว
โรคจากมลพิษในอาคาร : Stachybotrys (ตอนที่ 2)
กิดการปนเปื้อนสารเคมี ฝุ่นละออง อนุภาคต่างๆ นอกจากนี้ ยังมีอนุภาคแขวนลอยทางชีวภาพ (bioaerosols) ได้แก่จุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรีย รา ไวรัส และปรสิต เช่น ไร หมัด รวมถึงสารทางชีวภาพที่มาจากสิ่งมีชีวิต เช่น รังแค สะเก็ด จากคนและสัตว์เลี้ยงที่จัดเป็นสารก่ ... ตั้งแต่ 10/03/2556 ถูกอ่านแล้ว 24,106 ครั้ง ล่าสุด 3 ช.ม.ที่แล้ว
เชื้อที่มากับมลพิษในอาคาร: รา
ากาศ ที่นอกจากจะมาจากสิ่งแวดล้อมแล้ว จึงยังพบได้ในอาคารที่เราใช้อยู่ในชีวิตประจำวันเช่นที่อยู่อาศัย สำนักงาน เป็นต้น องค์การอนามัยโลกได้เคยประเมินว่า อาคารต่างๆ ถึงร้อยละ 30 ไม่ถูกสุขลักษณะ คุณภาพอากาศในอาคาร (indoor air quality) จึงมีความสำคัญมากขึ ... ตั้งแต่ 16/09/2555 ถูกอ่านแล้ว 51,667 ครั้ง ล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
โรคจากมลพิษในอาคาร: Legionnairs’ disease
น จัดเป็นปัญหาทางสาธารณสุข ที่ก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ ที่แม้แต่ผู้ที่อาศัย หรือผู้ที่ต้องมีกิจวัตรในอาคารเหล่านั้นอาจคาดไม่ถึงว่าสุขภาพของตนที่เสื่อมทรุดลงนั้นอาจมาจากพิษภาวะที่ได้จากอากาศสภาพแวดล้อมภายในและสิ่งที่สัมพันธ์กับที่อยู่อาศัยนั่นเอง อากา ... ตั้งแต่ 09/09/2555 ถูกอ่านแล้ว 28,004 ครั้ง ล่าสุด 8 ช.ม.ที่แล้ว
EM Ball (อีเอ็มบอล)
ด ที่น้องน้ำไล่ตามมาเยี่ยมเยือนถึงเมืองกรุง แม้จะลำบากในการใช้ชีวิตท่ามกลางกระแสน้ำ แต่ตอนนี้คนไทยรู้จัก ขี้ผึ้งวิทฟิลด์สำหรับทาน้ำกัดเท้า และอีเอ็มบอล ไปพร้อมกับยุทโธปกรณ์ที่ต้องมีเรือ บู๊ท กางเกงสวมทับกันน้ำ เสื้อชูชีพ ฯลฯ แต่ที่อภิปรายกันกว้างขวาง ... ตั้งแต่ 21/11/2554 ถูกอ่านแล้ว 57,126 ครั้ง ล่าสุด 4 ช.ม.ที่แล้ว
โรคระบาดที่มากับน้ำท่วม (ตอนที่ 2) น้ำกัดเท้าและข้อควรปฏิบัติ
าจเปื่อย มีแผล เมื่อน้ำท่วม ต้องลุยน้ำสกปรก เป็นเหตุให้เชื้อหลายชนิด ทั้งแบคทีเรีย รา ไวรัส และปรสิตบางชนิดเข้าโจมตีผิวหนังตื้นๆได้ ในกรณีที่มีแผลเปิดหรือแผลลึก อาจเกิดการอักเสบรุนแรง นอกจากเชื้อที่มากับน้ำแล้ว อาจได้จากการสัมผัสใช้สิ่งของร่วมกัน หน ... ตั้งแต่ 14/11/2554 ถูกอ่านแล้ว 21,385 ครั้ง ล่าสุด 2 ช.ม.ที่แล้ว
ตัวจี๊ด พยาธิตัวอันตรายที่มากับความอร่อย
่นไปไม่ได้ นอกจากข่าวที่ผู้ป่วยรายหนึ่งบุกเข้าประชิดตัวนายกรัฐมนตรีเพื่อร้องเรียนว่าตนเองได้รับความทนทุกข์ทรมานจากพยาธิชนิดหนึ่ง ที่บ้านเราเรียกว่าตัวจี๊ด หรือพยาธิตัวจี๊ดนั่นเอง เรามาทำความรู้จักกับสิ่งมีชีวิตน้อยๆ ตัวนี้กันดีกว่า เมื่อธรรมชาติม ... ตั้งแต่ 25/02/2554 ถูกอ่านแล้ว 75,089 ครั้ง ล่าสุด 6 ช.ม.ที่แล้ว

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

447 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

ดูเบอร์ติดต่อหน่วยงานต่างๆ | ดูข้อมูลการเดินทางและแผนที่

เว็บไซต์นี้ออกแบบและพัฒนาโดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนการสอน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Copyright © 2013-2024
 

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้

เราใช้เทคโนโลยีคุกกี้เพื่อช่วยให้เว็บไซต์ทำงานได้อย่างถูกต้อง การเปิดให้ใช้คุณสมบัติทางโซเชียลมีเดีย และเพื่อวิเคราะห์การเข้าเว็บไซต์ของเรา การใช้งานเว็บไซต์ต่อถือว่าคุณยอมรับการใช้งานคุกกี้