หน่วยคลังข้อมูลยา
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

เกร็ดความรู้สู่ประชาชน

1  2  3  4  5  6  7  8  >>| 


1  2  3  4  5  >>| 


1.
ความสำคัญของโพแทสเซียม…หากมีระดับผิดปกติ แก้ไขอย่างไร?
โพแทสเซียมมีความสำคัญกับร่างกายอย่างไร? โพแทสเซียม (potassium หรือนิยมใช้ K เป็นตัวย่อทางวิทยาศาสตร์) จัดเป็นแ ..-- 2,227 views
2.
ยาพ่นจมูกแก้ปวดไมเกรน
โรคปวดศีรษะไมเกรน (migraine headaches) เป็นโรคเรื้อรังทางระบบประสาท ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันจนนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ลดลง พบว่าในประเทศไทยมีความชุกของผู้ป่วยโรคปวดศีรษะไมเกรนอยู่ที่ 29.1% โดยพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และพบมากในช ..-- 889 views
3.
ยาลดน้ำหนักรุ่นใหม่...ปลอดภัยหรือไม่
โรคอ้วน (obesity) เป็นภาวะที่มีปริมาณไขมันเพิ่มขึ้นในร่างกายทุกส่วน ร่วมกับน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐานจนส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โรคอ้วนมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคเรื้อรังต่าง ๆ เช่น ความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และโรคหัวใ ..-- 2,528 views
4.
การป้องกันเอชไอวีด้วย PrEP และ PEP ต่างกันอย่างไร
การป้องกันเอชไอวี แม้ว่าการแพร่ระบาดของเอชไอวีในประเทศไทยมีแนวโน้มที่ลดลง แต่ก็ยังพบผู้ติดเชื้อรายใหม่ที่เพิ่มขึ้นอยู่ โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกันและการฉีดสารเสพติดที่ไม่ปลอดภัย (1) ดังนั้นก ..-- 1,977 views
5.
ยานวดสูตรร้อน รู้ก่อนใช้ แก้ปวดได้หายห่วง
รู้จักยานวดแก้ปวด อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อทั้งจากการยกของหนัก ออกกำลังกาย นั่งท่าเดิมนาน ๆ เป็นอาการที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาเรื้อรังของหลาย ๆ คนในสังคมปัจจุบันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยทำงาน ทำให้ยานวดแก้ปวดเป็นยาที่นิ ..-- 11,567 views
6.
โรคซึมเศร้า กินยาอย่างไรให้ได้ผล
ปัจจุบันมีผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเพิ่มมากขึ้น หลายคนอาจเป็นโรคซึมเศร้าโดยที่ตนเองไม่รู้ตัวทำให้ไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสมหรือได้รับการรักษาช้ากว่าที่ควรจะเป็น นอกจากนี้มีหลายองค์ประกอบที่ส่งผลทำให้โรคซึมเศร้ารักษา ..-- 2,513 views
7.
Warfarin (ยาวาร์ฟาริน) กับโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ
การมีลิ่มเลือดในหลอดเลือดอาจขัดขวางการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ โดยเฉพาะหัวใจและสมอง จนทำให้ขาดเลือดและส่งผลให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิตตามมา โดยหนึ่งในความเสี่ยงสำคัญของการเกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือด คือ โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ (a ..-- 9,280 views
8.
มือเท้าปาก ป้องกันได้ ลูกน้อยแข็งแรง
รู้จักโรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก (hand, foot and mouth disease–HFMD) เป็นโรคติดเชื้อไวรัสที่พบมากในประเทศแถบเอเชียแปซิฟิกรวมถึงประเทศไทย โดยเชื้อไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคมือเท้าปากมีอยู่หลายชนิด แต่ชนิดที่พบได้บ ..-- 4,896 views
9.
ไอมากเพราะใช้ยาลดความดันโลหิตอยู่หรือเปล่า?
โรคความดันโลหิตสูง คือ ภาวะที่ร่างกายมีความดันโลหิตซิสโตลิก (systolic blood pressure, SBP, ความดันตัวบน)³ 140 มม.ปรอท และ/หรือ ความดันโลหิตไดแอสโตลิก (diastolic blood pressure, DBP, ความดันตัวล่าง) ³9 ..-- 22,395 views
10.
“ทานยาลดความดันโลหิตทำให้ขาบวม” จริงหรือไม่ ?
ขาบวม เกิดขึ้นได้จากหลากหลายสาเหตุ เช่น การยืนหรือนั่งเป็นเวลานานเกินไป การรับประทานอาหารรสเค็มจัด น้ำหนักเกิน เป็นหญิงตั้งครรภ์ อีกทั้งอาจมีสาเหตุมาจากการบาดเจ็บ โดนแมลงสัตว์กัดต่อย การติดเชื้อ หรืออาจมีความผ ..-- 33,455 views
1  2  3  4  5  6  7  8  >>| 


1  2  3  4  5  >>| 


ข่าวยาล่าสุด
    ดูข่าวยาทั้งหมด


หน่วยคลังข้อมูลยา

447 ถ.ศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
 
ออกแบบและพัฒนาโดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล
Copyright © 2013-2020
 
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้
เราใช้เทคโนโลยีคุกกี้เพื่อช่วยให้เว็บไซต์ทำงานได้อย่างถูกต้อง การเปิดให้ใช้คุณสมบัติทางโซเชียลมีเดีย และเพื่อวิเคราะห์การเข้าเว็บไซต์ของเรา การใช้งานเว็บไซต์ต่อถือว่าคุณยอมรับการใช้งานคุกกี้