ความรู้เรื่องคลื่นรังสี ตอนที่ 1
รองศาสตราจารย์ ดร.ปริ่มเฉนียน มุ่งการดี ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
|
37,096 ครั้ง เมื่อ 1 ช.ม.ที่แล้ว | |
2012-04-29 |
แสงสว่างจากดวงอาทิตย์มีความจำเป็นแก่ชีวิตในโลกนี้ แต่การได้รับแสงมามากหรือน้อยไปย่อมมีผลต่อสรรพสิ่งทั้งหลาย ดังนั้นเพื่อเกิดความเข้าใจในพื้นฐานความรู้สิ่งเหล่านี้ บทความนี้จะสรุปรวบรวมข้อมูลที่มีผู้เขียนมาหลายๆด้าน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน โดยในส่วนที่ 1 จะเป็นการสรุปข้อมูลของกลุ่มรังสีต่าง ๆ และการนำมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ
แสงมีผลต่อร่างกายของสิ่งมีชีวิต นอกจากความร้อนที่เกิดขึ้นแล้ว ยังประกอบด้วยรังสีที่ความยาวคลื่นต่างๆ ส่วนประกอบที่เป็น Ultraviolet (UV) light นั้นจะเป็นช่วงลำแสงที่นำมากล่าวถึงกันมากที่สุด UV light จัดเป็น elctromagnetic radiation ที่มีความยาวคลื่นระหว่าง 10-400 nm ความยาวคลื่นจะสั้นกว่าลำแสงที่เป็นแสงที่มองเห็นได้ (visible light) แต่แสง UV จะมีช่วงความยาวคลื่นยาวกว่าแสง X-rays ทีมีช่วงความยาวคลื่นสั้นมาก ตารางที่ 1 แสดงความยาวคลื่นของแสงชนิดต่างๆเพื่อเป็นข้อมูลเปรียบเทียบให้ทราบ
กลุ่มชนิดของรังสีต่างๆโดยเฉพาะที่มีช่วงความยาวคลื่นสั้นที่นำมาประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์
การประยุกต์ใช้ลำแสง UV ในด้านต่างๆในปัจจุบัน
จะเห็นว่าแสงต่างๆเหล่านี้แม้จะมีโทษเกิดแก่มนุษย์ในหลายๆด้าน ปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้คุณสมบัติพิเศษของลำแสงต่างๆเหล่านี้มาประยุกต์ให้เป็นประโยชน์ในด้านต่างๆ ทั้งในด้านการตรวจและรักษาโรค งานทางวิทยาศาสตร์ ผลิตภัณฑ์การใช้ทางอุตสาหกรรม อุปกรณ์เครื่องใช้ในบ้านต่างๆ ในอนาคตจะมีการประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆได้อีกมากมาย
![]() |
การฆ่าเชื้อด้วยรังสียูวีซี (UVC) 27 วินาทีที่แล้ว |
![]() |
ดนตรีและการพัฒนาสมอง 1 นาทีที่แล้ว |
![]() |
การผสมยาปฏิชีวนะชนิดผงแห้งสำหรับรับประทาน 1 นาทีที่แล้ว |
![]() |
ยาเขียว ยาไทยใช้ได้ทั้งผู้ใหญ่และเด็ก… 1 นาทีที่แล้ว |
![]() |
ไวรัสตับอักเสบซี (Hepatitis C Virus, HCV) 1 นาทีที่แล้ว |
![]() |
การพัฒนาอนุภาคนาโนและระบบนำส่ง ตอนที่ 4 (Development of Nanoparticles and Delivery Systems: Chapter IV) 1 นาทีที่แล้ว |
![]() |
โกรทฮอร์โมน...ยารักษาภาวะเด็กเติบโตช้าและเด็กตัวเตี้ย 1 นาทีที่แล้ว |
![]() |
ว่านชักมดลูก 1 นาทีที่แล้ว |
![]() |
การลดสารตกค้างในผักและผลไม้ 1 นาทีที่แล้ว |
![]() |
การใช้ยาในหญิงมีครรภ์ : ข้อแนะนำเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายต่อทารกในครรภ์ 2 นาทีที่แล้ว |
![]() ![]() |
|
ที่เกี่ยวข้อง
หน่วยงานภายในคณะฯ
HTML5 Bootstrap Font Awesome