Loading…

รางวัลแห่งความภาคภูมิ



รางวัลที่ได้รับในปี พ.ศ.2550

โปรดเลือกปี
ปี 2568 (2 รางวัล) ปี 2567 (48 รางวัล) ปี 2566 (43 รางวัล) ปี 2565 (14 รางวัล) ปี 2564 (15 รางวัล) ปี 2563 (18 รางวัล) ปี 2562 (23 รางวัล) ปี 2561 (27 รางวัล) ปี 2560 (18 รางวัล) ปี 2559 (13 รางวัล) ปี 2558 (24 รางวัล) ปี 2557 (23 รางวัล) ปี 2556 (23 รางวัล) ปี 2555 (17 รางวัล) ปี 2554 (21 รางวัล) ปี 2553 (14 รางวัล) ปี 2552 (20 รางวัล) ปี 2551 (4 รางวัล) ปี 2550 (10 รางวัล) ปี 2549 (7 รางวัล) ปี 2548 (4 รางวัล) ปี 2547 (1 รางวัล) ปี 2546 (2 รางวัล) ปี 2545 (1 รางวัล) ปี 2541 (2 รางวัล) ปี 2539 (1 รางวัล) ปี 2538 (1 รางวัล) ปี 2537 (1 รางวัล) ปี 2535 (1 รางวัล)

รางวัลระดับนานาชาติ


รางวัล Best Poster Award - “Quantification of bioactive constituents and determination of free radical scavenging activity in mangosteen fruit rind extracts”

โดย/จาก
การประชุมวิชาการ 55th International Congress and Annual Meeting of the Society for Medicinal Plant Research ซึ่งจัดขึ้นที่เมือง GRAZ ประเทศ AUSTRIA ประเทศ ออสเตรีย
วันที่รับรางวัล
2007-09-02
ผู้ได้รับรางวัล
นายวีระยุทธ โพธิ์ฐิติรัตน์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการพฤกษเภสัชภัณฑ์ นักศึกษาในความดูแลของ รองศาสตราจารย์ ดร. วันดี กฤษณพันธ์ ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย

รางวัลระดับชาติ


รางวัลชมเชยผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปี 2551 - นวัตกรรมการตรวจวัดชนิดอ่านผลเร็วจากรั้วกันภัย: ชุดทดสอบสารรักษ์สิ่งแวดล้อมและเครื่องวัดคุณภาพแก๊สโซฮอล์
โครงการวิจัยดีเด่น ประจำปี 2551 - “การวิจัยและพัฒนาพริกและผลิตภัณฑ์“ เป็นโครงการภายใต้การดำเนินงานของสำนักประสานงานวิจัยและพัฒนา “สมุนไพรเพื่อคุณภาพชีวิต“
โดย/จาก : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประเทศ ไทย
วันที่รับรางวัล : 2007-12-13
ผู้ได้รับรางวัล : ศ.ดร.นันทวัน บุณยะประภัศร (ผู้ประสานงานการวิจัย)
รางวัลโปสเตอร์ดีเด่น - “Molecular authentication of Thai medicinal Plant ‘Khamin Krue’ based on 18 SrDNA gene sequences”
โดย/จาก : การประชุมเภสัชกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 4 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม BITEC กรุงเทพฯ ประเทศ ไทย
วันที่รับรางวัล : 2007-12-06
ผู้ได้รับรางวัล : นางสาวปิยนุช โรจน์สง่า สาขาวิชาเภสัชเคมีและพฤกษเคมี นักศึกษาในความดูแลของ รองศาสตราจารย์ ดร. วันดี กฤษณพันธ์
รางวัลโปสเตอร์ดีเด่น - “Quantification and bioactive constituents and determination of free radical scavenging activity in mangosteen fruit rind extracts”
โดย/จาก : การประชุมเภสัชกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 4 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม BITEC กรุงเทพฯ ประเทศ ไทย
วันที่รับรางวัล : 2007-12-06
ผู้ได้รับรางวัล : นายวีระยุทธ โพธิ์ฐิติรัตน์ สาขาวิชาวิทยาการพฤกษเภสัชภัณฑ์ ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย นักศึกษาในความดูแลของ รองศาสตราจารย์ ดร. วันดี กฤษณพันธ์
รางวัลเยาวชนดีเด่นกรุงเทพมหานคร (ประกายเพชร) ประจำปี 2550 ด้านส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม - -
โดย/จาก : สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร ประเทศ ไทย
วันที่รับรางวัล : 2007-09-22
ผู้ได้รับรางวัล : นางสาวณชยากานต์ กาญจนคเชนทร์
รางวัลชมเชย รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติประจำปี 2551 สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช - งานวิจัยเรื่อง “ระบบนำส่งยาลอยตัวรูปแบบหลายหน่วยโดยใช้เทคนิคการทำให้เกิดแก๊ส“
โดย/จาก : สภาวิจัยแห่งชาติ ประเทศ ไทย
วันที่รับรางวัล : 2007-05-01
ผู้ได้รับรางวัล : รศ.ดร.สาธิต พุทธิพิพัฒน์ขจร (ผู้ร่วมวิจัย)
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 และรางวัลชมเชย - โครงการประกวดแผนการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
โดย/จาก : สมาคมเภสัชกรรมแห่งประเทศไทย ประเทศ ไทย
วันที่รับรางวัล : 2007-01-16
ผู้ได้รับรางวัล : นักศึกษาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ชั้นปีที่ 5

รางวัลระดับสถาบัน


รางวัลชนะเลิศ ประเภทสื่ออิเล็กทรอนิกส์ - การ์ตูนแมงปอ ของสำนักงานข้อมูลสมุนไพร
โดย/จาก : การสัมมนาทางวิชาการ รวมพลคนทำสื่อ ครั้งที่ ๓ จัดโดยวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศ ไทย
วันที่รับรางวัล : 2007-12-13
ผู้ได้รับรางวัล : นางราตรี ปั้นพินิจ นักวิชาการโสตทัศนูปกรณ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
รางวัลวิทยานิพนธ์ชมเชย กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ ระดับปริญญาเอก - วิทยานิพนธ์ เรื่อง “Quality assessment and biological activity of COSCINUM FENESTRATUM stem extract“

รางวัลอื่นๆ


เกี่ยวกับคณะเภสัชศาสตร์
สารจากคณบดี ประวัติความเป็นมา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ผังและโครงสร้างการบริหาร ผู้บริหารคณะเภสัชศาสตร์ ข้อมูลบุคลากร ภาควิชาและหน่วยงาน รางวัลแห่งความภาคภูมิ

ความสำเร็จของวิชาชีพเภสัชกรรม เกิดจากความรู้ที่สามารถทำให้ผู้บริโภคยา มีการเสี่ยงต่ออันตรายจากยาที่ใช้ให้น้อยที่สุด แต่ได้รับผลในการป้องกัน หรือบำบัดโรคมากที่สุด

ความสำเร็จของวิชาชีพเภสัชกรรม เกิดจากความรู้ที่สามารถทำให้ผู้บริโภคยา มีการเสี่่ยงต่ออันตรายจากยาที่ใช้ให้น้อยที่สุด แต่ได้รับผลในการป้องกัน หรือบำบัดโรคมากที่สุด
ประดิษฐ์ หุตางกูร
คณบดีท่านแรกของคณะเภสัชศาสตร์
Copyright © 2021 - 2025
งานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล
การใช้และการจัดการคุกกี้
เราใช้เทคโนโลยีคุกกี้เพื่อช่วยให้เว็บไซต์ทำงานได้อย่างถูกต้อง การเปิดให้ใช้คุณสมบัติทางโซเชียลมีเดีย และเพื่อวิเคราะห์การเข้าเว็บไซต์ของเรา