ยาตีกัน
นศภ. กุลวดี ชูชะเอม นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานคลังข้อมูลยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
|
59,554 ครั้ง เมื่อ 27 นาทีที่แล้ว | |
2014-10-22 |
อันตรกิริยาระหว่างยาหรือที่เรามักเรียกกันสั้นๆ ว่า “ยาตีกัน” เป็นปฏิกิริยาระหว่างยาที่ใช้ร่วมกันตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปทำให้ระดับยาในเลือดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมซึ่งส่งผลต่อการรักษาและความปลอดภัยของการใช้ยาโดยระดับยาที่เพิ่มสูงขึ้นทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์หรือเป็นพิษได้ ในทางกลับกันระดับยาที่ลดต่ำลงอาจส่งผลต่อการรักษา ทำให้การรักษาไม่ได้ผลหรือเกิดโรคแทรกซ้อนที่อันตรายภายหลัง อันตรกิริยาระหว่างยานี้เกิดได้จาก 2 กลไกหลักได้แก่
ปฏิกิริยาระหว่างยาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงฤทธิ์ของยาแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
ปฏิกิริยาระหว่างยาที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับยาในเลือด
อันตรกิริยาระหว่างยาหรือที่เรามักเรียกกันสั้นๆ ว่า “ยาตีกัน” เนื่องจากยาดังกล่าวรบกวนกระบวนการต่างๆ เช่น การดูดซึม การจับกับโปรตีนในเลือด กระบวนการเปลี่ยนสภาพยาและกระบวนการกำจัดยา ทำให้ระดับยาอีกตัวหนึ่งในเลือดเพิ่มขึ้นหรือลดลงจากปกติ ส่งผลต่อการรักษาและความเป็นพิษของยา
นอกจาก 2 กลไกหลักที่กล่าวมาข้างต้นยังพบอันตรกิริยาระหว่างยาที่เกิดจากการเตรียมยา ซึ่งยา 2 ชนิดเมื่อผสมเข้าด้วยกันในสารละลายทำให้เกิดตะกอนหรือสีที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากความไม่เข้ากัน ทำให้ผลการรักษาลดลงหรือไม่ได้ผล
ยาลดกรด(แอนตาซิด) ซึ่งเป็นยาพื้นฐานที่ใช้รักษาอาการไม่สบายท้อง และสามารถหาซื้อได้ตามร้านขายยาทั่วไป สามารถเกิดอันตรกิริยาระหว่างยากับยาใดได้บ้าง
กินยาพร้อมนม ได้ผลหรือไม่ ? 7 วินาทีที่แล้ว | |
กระชายดำกับสมรรถภาพทางเพศชาย 24 วินาทีที่แล้ว | |
วัคซีนโควิด-19 ตอนที่ 2 : วัคซีนโควิด-19 ชนิดที่นำมาใช้แล้ว 26 วินาทีที่แล้ว | |
โรคจีซิกพีดี...ยาและอาหารที่ควรหลีกเลี่ยง 27 วินาทีที่แล้ว | |
สารบำรุงตาจากพืชมีสี 29 วินาทีที่แล้ว | |
กาแฟ…ระวังในโรคใด? 33 วินาทีที่แล้ว | |
โรคกระเพาะ...เหตุจากยา 35 วินาทีที่แล้ว | |
ท้องเสียจากโนโรไวรัส (Norovirus) 39 วินาทีที่แล้ว | |
แคลเซียม .. สาระน่ารู้ 43 วินาทีที่แล้ว | |
ยาคุมฉุกเฉิน ... เรื่องจริงที่ผู้หญิงต้องรู้ 44 วินาทีที่แล้ว |
|
HTML5 Bootstrap Font Awesome