การพัฒนาตำรับยาไดโคลฟีแนครูปแบบไฮโดรเจลที่ไวต่ออุณหภูมิสำหรับให้ยาทางทวารหนัก |
โดย: น.ส.มณีรัตน์ แซ่เช็ง , น.ส.รจนา ศรีชุมพวง ปีการศึกษา: 2556 กลุ่มที่: 9 อาจารย์ที่ปรึกษา: จิรพงศ์ สุขสิริวรพงศ์ , จิราพร เลื่อนผลเจริญชัย ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชกรรม Keyword: การให้ยาทางทวารหนัก ไดโคลฟีแนค โซเดียม , rectal administration, diclofenac sodium, hydrogel |
บทคัดย่อ: โครงการพิเศษนีมี้วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตารับยาไดโคลฟี แนค (DS) รูปแบบไฮโดรเจลที่ เปลี่ยนสภาพเป็ นเจลได้ที่อุณหภูมิในร่างกาย เพื่อนาไปใช้ระงับปวดหลังผ่าตัด ในการศึกษานีใ้ ช้ พอลิเมอร์ 3 ชนิดคือ poloxamer 407 (P407), 188 (P188) และ 123 (P123) เป็นสารก่อเจล สาหรับยา DS ความเข้มข้น 25 และ 50 mg/mL อัตราส่วนของ P407:P188 และ P407:P123 ที่ใช้ คือ P407 ความเข้มข้น 20, 22.5 และ 25 %w/v ต่อ P188 หรือ P123 ความเข้มข้น 0, 1, 2.5, 5 และ 10 %w/v จากการศึกษาพบว่าเมื่อความเข้มข้นของ P407 และ P123 เพิ่มขึน้ หรือความ เข้มข้นของ P188 ลดลงมีผลให้อุณหภูมิในการก่อเจลลดต่าลงแต่ความหนืดของไฮโดรเจลเพิ่มขึน้ จากนัน้ ทาการคัดเลือกสูตรตารับเพื่อศึกษาผลของส่วนประกอบในตารับต่อการปลดปล่อยยา พบว่าสูตรตารับที่เหมาะสมคือตารับที่ประกอบด้วย P407 ความเข้มข้น 22.5 %w/v และ P188 หรือ P123 ทุกความเข้มข้นและคัดเลือกตารับเพื่อศึกษาการปลดปล่อยยาจากสูตรตารับที่มี อุณหภูมิในการก่อเจลอยู่ในช่วง 30-37 องศาเซลเซียส พบว่าสูตรตารับที่เหมาะสมคือ ตารับที่ใส่ ยา DS 25 mg/mL และประกอบด้วย P407:P188 อัตราส่วน 20:0, 20:1, 22.5:1, 22.5:2.5 และ 22.5:5 %w/v และ P407:P123 อัตราส่วน 20:2.5 %w/v ตารับที่ใส่ยา DS 50 mg/mL และ ประกอบด้วย P407:P188 อัตราส่วน 25:0 และ 25:1 %w/v และ P407:P123 อัตราส่วน 25:1 %w/v จากการวิเคราะห์ปริมาณยาในตารับที่คัดเลือกมาศึกษาพบว่ามี %drug content อยู่ในช่วง 90-110% และจากการศึกษาการปลดปล่อยยา DS จากไฮโดรเจล พบว่าเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ P407 หรือ P123 มีผลลดอัตราและปริมาณการปลดปล่อยยาจากไฮโดรเจล ขณะที่ปริมาณของ P188 ไม่มีผลต่อการปลดปล่อยยา การปลดปล่อยยาจากตารับที่มีอุณหภูมิในการก่อเจลอยู่ในช่วง ที่ต้องการมีรูปแบบไม่แตกต่างจากตารับอื่นๆ ที่นามาศึกษา และการปลดปล่อยยาของทุกตารับมี กลไกการปลดปล่อยยาแบบ zero order |
abstract: This project aimed to develop diclofenac (DS)-loaded temperature-sensitive hydrogel for the treatment of postoperative pain. The polymers used in this study were poloxamer 407 (P407), 188 (P188) and 123 (P123) as gel forming agents. The concentrations of P407 were 20, 22.5 and 25 %w/v combining with P188 or P123 at the concentrations of 0, 1, 2.5, 5 and 10 %w/v. The hydrogel was loaded with 25 and 50 mg/mL of DS. The results found that the increasing P407 and P123 concentrations and decreasing P188 content reduced the gelling temperature of hydrogel but increased the hydrogel viscosity. From these results, some formulations were selected to study the release of drug from hydrogel. To investigate the effect of hydrogel composition on the release characteristics, the formulations containing 22.5 %w/v of P407 and all concentrations of P188 and P123 were chosen. To evaluate the release characteristics of hydrogel whose the gelling temperature fell in the range of 30-37 ฐC, the selected formulations were the 25 mg/mL DS formulations consisting of P407:P188 at 20:0, 20:1, 22.5:1, 22.5:2.5 and 22.5:5 %w/v and P407:P123 at 20:2.5 %w/v and the 50 mg/mL DS hydrogels containing P407:P188 at 25:0 and 25:1 %w/v and P407:P123 at 25:1 %w/v. The drug content of all selected formulations was in the range of 90-110%. The release results revealed that the increment of P407 or P123 concentrations sustained the drug release from hydrogel whereas the amount of P188 did not affect the release characteristics of hydrogel. The release characteristics of all formulations having the desired gelling temperature were not different from each other. The release kinetics of DS from all selected formulations followed zero order model. |
. |