การรวบรวมข้อมูลผลของสมุนไพรต่อการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด

โดย: น.ส.อรัชพร ชูสาลี ,น.ส.กนกวรรณ ปานเอม    ปีการศึกษา: 2556    กลุ่มที่: 51

อาจารย์ที่ปรึกษา: ยุวดี วงษ์กระจ่าง , เพ็ญโฉม พึ่งวิชา , รุ่งระวี เต็มศิริฤกษ์กุล , วสุ ศุภรัตนสิทธิ , กมล ไชยสิทธิ์    ภาควิชา: ภาควิชาสรีรวิทยา

Keyword: ยาเคมีบาบัด, สมุนไพร, cytochrome P450, drug-herb interaction in oncology, chemotherapy, herb, cytochrome P450, drug-herb interaction in oncology
บทคัดย่อ:
โครงการพิเศษนีมี้วัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลผลของสมุนไพรที่ใช้ใน โรคมะเร็งหรือสมุนไพรที่นิยมใช้ในการรักษาโรคอื่น ๆ ซึ่งอาจมีผลต่อยาเคมีบาบัด และใช้ข้อมูล เหล่านีเ้ ป็ นแนวทางในการให้คาแนะนาการใช้สมุนไพรในผู้ป่ วยมะเร็งระหว่างการได้รับยา เคมีบาบัด โดยสืบค้นข้อมูลจากหนังสือ, วารสาร, ฐานข้อมูล online และ website คาที่ใช้ในการ สืบค้นคือ ยาเคมีบาบัด, สมุนไพร, cytochrome P450, drug-herb interaction in oncology ซึ่ง สมุนไพรที่นามาวิจัยรวบรวมข้อมูลได้แก่ กระเทียม ขมิน้ ชัน ตรีผลา บอระเพ็ด บัวบก แป๊ ะก๊วย แป๊ ะตาปึ ง ฟ้ าทะลายโจร มะขามป้ อม มะระขีน้ ก มะรุม ลูกใต้ใบ ว่านหางจระเข้ สมอไทย สมอพิเภก และโสม พบว่าสมุนไพรเหล่านีมี้ฤทธิ์ยับยัง้ CYP2C9, CYP2D6, CYP3A4 เป็ นส่วน ใหญ่ อาจส่งผลให้ระดับยาเคมีบาบัดที่เมแทบอลิซึมผ่าน CYP ดังกล่าวสูงขึน้ ในร่างกาย นอกจากนีก้ ระเทียมยังมีผลยับยัง้ P-gp ซงึ่ อาจส่งผลให้ระดับยาในเลือดสูงขึน้ ขณะที่ แป๊ ะตาปึ ง พบว่า เมื่อใช้ร่วมกับ Cisplatin อาจทาให้ฤทธิ์ในการยับยัง้ การแบ่งเซลล์ของ Cisplatin ลดลง แต่ เมื่อใช้กับ 5-fluorouracil อาจทาให้เพิ่มฤทธิ์ความเป็ นพิษต่อเซลล์ของยาได้ ทัง้ นีผ้ ลที่เกิดขึน้ ใน ร่างกายมนุษย์อาจมีปัจจัยต่างๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และข้อมูลที่ทาการศึกษารวบรวมส่วนใหญ่เป็น การทดลองในระดับหลอดทดลองและไม่ใช่การศึกษาทางคลินิก แต่อย่างไรก็ดีควรหลีกเลี่ยงการใช้ สมุนไพรในผู้ป่ วยมะเร็งที่รับการรักษาด้วยยาเคมีบาบัด เพราะมีแนวโน้มที่สมุนไพรดังกล่าวอาจ ส่งผลต่อการออกฤทธิ์ของยาเคมีบาบัด และควรมีการศึกษาทางคลินิกต่อไป
abstract:
The purpose of this project is to collect and analyze data of the herb usage in cancer patients and their interaction with chemotherapy. The information will be used as a guide for herb usage of patients with chemotherapy treatment. The data were collected from databases and website by using key words. The collected herbs were Allium sativum L., Curcuma longa L., Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook.f. & Thomson, Centella asiatica Urban, Ginkgo biloba L. Gynura procumbens (Lour.) Merr., Andrographis paniculata (Burm) Wall. ex Ness., Phyllanthus emblica Lann., Momordica charantia L., Moringa oleifera Lamk., Phyllanthus niruri L., Aloe vera (L.) Burm. F., Terminalia chebula Retz., Terminalia bellerica Roxb., and Panax ginseng C.A. Mayer. It was found that herbs mainly inhibited CYP2C9, CYP2D6, CYP3A4, and might increase toxicity of chemotherapy drugs metabolized by the CYP pathways. Garlic also inhibits Pgp and could increase the drug levels in the blood. There was a reported that Gynura procumbens (Lour.) Merr., it could reduce the efficacy of Cisplatin but had synergistic effect with 5-FU. However, effect of those herbs on chemotherapy regimen in human body might be affected by many variable factors. Most of the data were collected from the in vitro study. Therefore, it is suggested to avoid using herbs in cancer patients while receiving chemotherapy regimen. It is necessary to further investigate their clinical effects.
.