การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการสัมภาษณ์ประวัติผู้ป่วยเกี่ยวกับโรคที่พบบ่อยในร้านขายยาสำหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์

โดย: น.ส.ฉัตรภรณ์ ใจมา ,น.ส.ศิริพร อุดมพรวรรักษ์    ปีการศึกษา: 2556    กลุ่มที่: 47

อาจารย์ที่ปรึกษา: ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์ , บุษบา จินดาวิจักษณ์    ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชกรรม

Keyword: โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การสัมภาษณ์ประวัติผู้ป่ วย เภสัชกร, computer-assisted instruction, CAI, medical history taking, pharmacist
บทคัดย่อ:
โครงการวิจัยนีมี้วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเกี่ยวกับการ สัมภาษณ์ประวัติผู้ป่ วยในร้ านยาและเพื่อประเมินประสิทธิภาพและความพึงพอใจต่อโปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชัน้ ปี ที่ 5 มหาวิทยาลัยมหิดล ปี การศึกษา 2556 ทัง้ นีโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนีมี้เนือ้ หาหลักเกี่ยวกับทักษะการสัมภาษณ์ประวัติในร้านยา ผลการวิจัยพบว่ามีผู้เข้าใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและตอบแบบสอบถามทัง้ หมด 60 คน จากนักศึกษาทัง้ ชัน้ ปี 102 คน (ร้อยละ 58.82) ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 58.33) กาลังศึกษา อยู่ในสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (ร้อยละ 71.67) และมีเกรดเฉลี่ยอยู่ในช่วง 3.00 - 3.49 (ร้อย ละ 58.33) หลังการทดลองใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผู้ใช้ร้อยละ 80 มีทัศนคติอยู่ในระดับ ดี และร้อยละ 61.67 มีความพึงพอใจมากที่สุดต่อรูปแบบของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนใน ส่วนของการทบทวนเนือ้ หาด้วยตนเองได้ ในด้านประสิทธิภาพโดยรวมของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน พบว่าภายหลังใช้โปรแกรม ผู้ใช้มีคะแนนการสัมภาษณ์ประวัติเฉลี่ยดีขึน้ จากก่อนใช้ โปรแกรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (10.23 คะแนน และ 7.93 คะแนน ตามลาดับ, p<0.05) โดย สรุป โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนีมี้ประสิทธิภาพที่ดีในการพัฒนาทักษะการสัมภาษณ์ประวัติ ผู้ป่ วยในร้านยาของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ได้
abstract:
The objective of this study is to develop the computer-assisted instruction (CAI) for medical history taking in drug store, and to evaluate the efficiency and satisfaction of the CAI by the 5th year pharmacy students, Mahidol University, academic year 2013. The CAI mainly concerns about medical history taking skills. Sixty students from total of 102 students (58.82%) participated in the study. Most of them are females (58.33%), registered in tract of pharmaceutical care (71.67%), and have average GPA ranging from 3.00 - 3.49 (53.33%). After trial of the CAI, 80% of the users have good attitude towards this CAI. Self-learning module of this CAI is rated as good satisfaction by most of them (61.67%). Concerning about the overall efficiency of CAI, post-test score is improved significantly from pre-test score (10.23 vs. 7.93 respectively, p<0.05). In conclusion, this CAI demonstrated efficiency to improve the medical history taking skill in community pharmacy by pharmacy students.
.