การศึกษาวิธีการบริหารยาในกรณีที่ไม่ตรงตามวงรอบปกติ |
โดย: นายเกียพร สุดธนาพันธ์ ,นายธีระภัทร ตั้งพูลทรัพย์ ปีการศึกษา: 2556 กลุ่มที่: 45 อาจารย์ที่ปรึกษา: บุษบา จินดาวิจักษณ์ , สุวัฒนา จุฬาวัฒนทล ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชกรรม Keyword: การบริหารยาตามวงรอบ, การบริหารยาไม่ตรงตามวงรอบ, หลักการร้อยละ 50, scheduled time of drug administration, unscheduled administration, 50% rule |
บทคัดย่อ: การศึกษานีจ ัดทำขึน เพ2ือทราบรูปแบบการให้ยาท2ีอยู่นอกเวลาให้ยาตามกำหนดก่อนท2ีจะ ปรับเข้าเป็นวงรอบปกติของการให้ยา สร้างแบบสอบถามที2ประกอบด้วยคำถามเกี2ยวกับหลักการ ท2ีใช้ในการปรับเวลาให้ยาท2ีไม่เข้าวงรอบ การปฏิบัติเม2ือเกิดเหตุการณ์ขึน โดยใช้กรณีศึกษา 3 กรณี (เซฟอกซิติน ดิจอกซิน และฟี นายตอย) และวงรอบการให้ยาท2ีปฏิบัติอยู่ นำแบบสอบถามนีใ ห้ พยาบาลและเภสัชกรของโรงพยาบาลราชวิถีและโรงพยาบาลสงฆ์ตอบ โดยดำเนินการตัง แต่วันท2ี 9 กันยายน 2556 จนถึงวันท2ี 21 กันยายน 2556 ได้ผู้เข้าร่วมการวิจัยเป็นพยาบาล 91 คน และ เภสัชกร 13 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และ หลักการทางเภสัชจลนศาสตร์ ผล การศึกษาพบว่า พยาบาลร้อยละ 81.32 และเภสัชกรร้อยละ 46.14 ยังไม่มีหลักการหรือแนวทางที2 แน่นอนในการปรับการบริหารยาให้เข้าวงรอบปกติหลังจากให้ STAT dose พยาบาลร้อยละ 18.68 ทราบว่าสามารถใช้หลักการร้อยละ 50 ซึ2งเป็นแนวทางที2สมาคมเภสัชกรในระบบสุขภาพ แห่งสหรัฐอเมริกาแนะนำให้ใช้ในการปรับยาเข้าวงรอบปกติ ในส่วนของเภสัชกร พบว่าเภสัชกร ร้อยละ 30.78 ปรับยาเข้าวงรอบโดยพิจารณาจากคุณสมบัติของตัวยา เช่น ขนาดยา, ครึ2งชีวิตของ ยา และ ช่วงห่างของการให้ยา อีกร้อยละ 23.08 จะพิจารณาจากคำสั2งแพทย์เป็นหลัก และไม่มี เภสัชกรทราบเกี2ยวกับหลักการร้อยละ 50 สำหรับกรณีศึกษา พบว่ามีคำตอบหลากหลาย แต่เมื2อ วิเคราะห์ตามหลักการทางเภสัชจลนศาสตร์แล้วพบว่าส่วนใหญ่ยังคงได้ระดับยาที2ให้ผลการรักษา ผลการสอบถามท2ีเก2ียวกับวงรอบการให้ยาท2ีปฏิบัติอยู่ พบว่ามีความแตกต่างระหว่างแต่ละหอ ผู้ป่ วยและระหว่างโรงพยาบาลทัง สองแห่งท2ีทำการศึกษา โดยพบว่าโรงพยาบาลราชวิถีมีรอบการ บริหารยาท2ีหลากหลายกว่าโรงพยาบาลสงฆ์ การศึกษานีส รุปได้ว่า ควรมีการกำหนดวงรอบการให้ ยาที2เป็นมาตรฐานและควรกำหนดวิธีปฏิบัติในกรณีที2ให้ยานอกเวลาให้ยาตามกำหนดก่อนที2จะ ปรับเข้าเป็นวงรอบปกติของการให้ยา |
abstract: This study was conducted to observe the practice of giving a dose outside the scheduled time before returning to normal scheduled time. Questionnaire asking about the principle used in adjusting unscheduled time of drug administration; the practice when facing 3 case studies with problems of adjusting beyond scheduled time (cefoxitin, digoxin and phenytoin); and the scheduled time of drug administration normally practice in the hospitals, was developed. This questionnaire was distributed to nurses and pharmacists of Rajavithi Hospital and Priest Hospital during September 9th to September 21st, 2013. A total of 91 nurses and 13 pharmacists were enrolled. Data were analysed by descriptive statistics and pharmacokinetic principle. The results showed that 81.32% of nurses and 46.14% of pharmacists adjusted the unscheduled time based on their own principle. The rest of nurses (18.68%) reported the informed principle to use is the “50% rule”, the American Society of Health-System Pharmacists’ recommended rule, in adjusting unscheduled administration time. For pharmacist 30.78% would suggest to adjust unscheduled time based on drug’s properties, for instance, administered dose, half-life, and dosing interval. However, none of pharmacists knew the 50% rule. Concerning the case studies, there were various practices. After analyzing by pharmacokinetic principle, most of practices resulted in similar therapeutic level. Lastly, the scheduled time normally practice in the hospital were varied from ward to ward and different between the two hospitals and Rajavithi Hospital has more various scheduled time of drug administration than Priest Hospital. It is concluded that a standard practice of scheduled time and the way of giving a dose outside the scheduled time before returning to normal scheduled time should be set up. |
. |