การศึกษารูปแบบการสั่งจ่ายยาต้านคลื่นไส้ อาเจียนสำหรับป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียนจากยาเคมีบำบัดในผู้ป่วยมะเร็ง โรงพยาบาลราชวิถี |
โดย: น.ส.สุพัตรา ผ่องใส ,น.ส.อมรา พงษ์ประวัติ ปีการศึกษา: 2556 กลุ่มที่: 43 อาจารย์ที่ปรึกษา: กฤตติกา ตัญญะแสนสุข , กุลพร วิสิทธิ์ , จิราภรณ์ เชี่ยววิทย์ ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชกรรม Keyword: ความสามารถก่อให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน, ยาต้านคลื่นไส้ อาเจียน, รูปแบบการสั่งจ่ายยา, อาการคลื่นไส้ อาเจียนจากเคมีบาบัด, antinausea-vomiting, chemotherapy induced nausea vomiting, emetogenicity, prescribing pattern |
บทคัดย่อ: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการสั่งจ่ายยาต้านคลื่นไส้ อาเจียนสาหรับยาเคมีบาบัด และสรุปข้อเสนอแนะสาหรับรูปแบบยาต้านคลื่นไส้ อาเจียนที่เหมาะสมกับชนิดยาที่มีประเทศไทย โดยทาการเก็บข้อมูลย้อนหลังจากใบสั่งยาเคมีบาบัดซึ่งเก็บไว้ที่หน่วยผลิตยาปราศจากเชื้อ ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลราชวิถี ในระหว่างเดือนมกราคม-มิถุนายน 2556 แล้วทาการเปรียบเทียบรูปแบบการสั่งจ่ายยาต้านคลื่นไส้ อาเจียนที่พบในทางปฏิบัติกับแนวทางการสั่งใช้ยาที่กาหนดขึ้นโดยองค์กรสากล จากการรวบรวมใบสั่งยา 1,274 ใบ สาหรับผู้ป่วยมะเร็ง 576 คน ชนิดมะเร็งที่พบมากที่สุด 3 ลาดับแรก คือ มะเร็งเต้านม มะเร็งปอด และ มะเร็งระบบเลือดมากกว่าร้อยละ 50 เป็นการสั่งจ่ายยาเคมีบาบัดที่สามารถทาให้อาเจียนได้ในระดับปานกลาง และสูง รูปแบบยาต้านอาเจียนสาหรับยาเคมีบาบัดที่สามารถทาให้อาเจียนในระดับสูง คือการใช้ยาหลายชนิดร่วมกันระหว่าง steroid, serotonin receptor antagonist (5-HT3RA) และ gastrointestinal regulator (GIR) ได้แก่ metoclopramide และ domperidone และอาจเพิ่ม adjuvant เช่น lorazepam ในขณะที่ยาเคมีบาบัดที่ทาให้อาเจียนในระดับปานกลาง จะป้องกันการอาเจียนด้วย steroid และ/หรือ 5-HT3RA ร่วมกับ GIR สาหรับยาเคมีบาบัดที่ทาให้อาเจียนต่าพบว่ามีการใช้ steroid หรือ 5-HT3RA หรือ GIR โดยใช้เพียงตัวเดียวหรือ 2 ตัวร่วมกัน นอกจากนี้ยังพบการใช้ยาต้านอาเจียนสาหรับเคมีบาบัดที่ทาให้อาเจียนระดับเล็กน้อย เมื่อทาการเปรียบเทียบกับแนวทางการสั่งจ่ายยาต้านอาเจียนในทางสากลแล้วพบว่าในโรงพยาบาลราชวิถีจะใช้ 5-HT3RA รุ่นเก่า และ GIR เป็นหลักแทน neurokinin-1 receptor antagonist (NK-1RA) และ 5-HT3RA รุ่นใหม่ ยังคงมีการใช้ยาต้านคลื่นไส้ อาเจียนในกลุ่มที่ใช้เคมีบาบัดที่ทาให้อาเจียนได้เล็กน้อย ในขณะที่ตามแนวทางสากลจะไม่แนะนาให้ใช้ยาป้องกัน จากการที่พบว่ามีการสั่งจ่ายยาต้านคลื่นไส้ อาเจียนที่หลากหลาย ควรมีการพัฒนาใบสั่งยาจาเพาะสาหรับการจ่ายยาเคมีบาบัด. |
abstract: This study was aimed to determine antinausea-vomiting prescribing pattern for chemotherapy induced nausea-vomiting and make a suggestion for prescribing pattern based on drug availability in Thailand. A retrospective review of chemotherapy orders during January-June 2013, kept at a Sterile preparation Unit of Rajavithi Hospital, was performed. The drug use patterns were then compared with International antinausea-vomiting recommendations. A total of 1,274 prescriptions of 576 cancer patients were retrieved. The top 3 cancer were breast cancer, lung cancer, and hematological cancer. More than 50% treated with moderate to high emetogenicity chemotherapy regimens. Combinations of steroid, serotonin receptor antagonist (5-HT3RA) and gastrointestinal regulator (GIR) such as metoclopramide and domperidone as well as an adjuvant as lorazepam were prescribed for high emetogenicity chemotherapy. For moderate emetogenicity chemotherapy, combinations of steroid and/or 5-HT3RA and GIR were used. The antinausea-vomiting prescribing pattern for low emetogenicity chemotherapy was monotherapy or 2-combination of steroid, 5-HT3RA, or GIR However, nausea-vomiting prevention was also found among patients delivering minimal emetogenicity chemotherapy. Regarding to international recommendation conventional and GIR were chosen instead of neurokinin-1 receptor antagonist (NK-1RA) and new 5-HT3RA. Antinausea-vomiting for minimal emetogenicity was found in spite of there is no international suggestion. Since the diversity of antinausea-vomiting prescribing patterns were found, a standard chemotherapy order should be installed. |
. |