การศึกษาระบบจำลองเซลล์เพาะเลี้ยงสำหรับการทดสอบการเจริญเปลี่ยนแปลงของเซลล์มะเร็งลำไส้ |
โดย: น.ส.พรชนก มนแก้ว, น.ส.พัชรา พรหมสุรินทร์ ปีการศึกษา: 2556 กลุ่มที่: 4 อาจารย์ที่ปรึกษา: มัลลิกา ชมนาวัง , นันทวัน บุณยะประภัศร ภาควิชา: ภาควิชาจุลชีววิทยา Keyword: เซลล์มะเร็งลาไส้, การเหนี่ยวนาให้เกิด differentiation, น้ามันหอมระเหย, Induce differentiation, Essential oil, Colon cancer cell |
บทคัดย่อ: โครงการพิเศษนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระบบจาลองเซลล์เพาะเลี้ยงสาหรับทดสอบการเจริญเปลี่ยนแปลงของเซลล์มะเร็งลาไส้ และเพื่อศึกษาฤทธิ์ของน้ามันหอมระเหยในการเหนี่ยวนาให้เกิดการเจริญเปลี่ยนแปลง โดยในการทดลองนี้ใช้น้ามันหอมระเหยทั้งสิ้น 14 ชนิดด้วยกัน คือน้ามันหอมระเหยจากพลู ตะไคร้หอม กานพลู ใบกานพลู ข่า ใบฝรั่ง แมงลัก กะเพรา มะกรูดตะไคร้ กระชาย มะนาว โหระพา และขมิ้น เก็บผลโดยการนับจานวนท่อ ที่เกิดขึ้นและเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมเพื่อคานวณหาค่าอัตราส่วนจานวนท่อที่เกิดขึ้นเมื่อทดสอบด้วยน้ามันหอมระเหยเทียบกับกลุ่มควบคุม ผลการทดลองพบว่า น้ามันหอมระเหยจากแมงลัก กะเพราและใบฝรั่งมีฤทธิ์ในการเหนี่ยวนาให้เกิดการเจริญเปลี่ยนแปลงมากที่สุดเป็น 3 ลาดับแรก โดยมีอัตราส่วนจานวนท่อที่เกิดขึ้นเทียบกับกลุ่มควบคุมเท่ากับ 4.70, 4.03 และ 3.81 ตามลาดับ ในการทดลองครั้งนี้ความเข้มข้นที่ใช้คือ 7.81-500 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร แปลผลการเหนี่ยวนาให้เกิดเจริญเปลี่ยนแปลงโดยเทียบอัตราส่วนจานวนท่อที่เกิดขึ้นของสาร 3-methylthiopropionic acid ethyl ester (MTPE) พบว่าน้ามันหอมระเหยส่วนใหญ่มีฤทธิ์เหนี่ยวนาให้เกิดการเจริญเปลี่ยนแปลง ยกเว้นน้ามันหอมระเหยจากตะไคร้ และมะนาวที่มีค่าอัตราส่วนจานวนท่อที่เกิดขึ้นต่ากว่าสาร MTPE ส่วนความเข้มข้นที่ใช้ในการทดลองนี้พบว่ามีน้ามันหอมระเหยบางชนิดที่ทาให้เซลล์มะเร็งตายได้ที่ความเข้มข้นสูง ผลการศึกษาจากโครงการพิเศษนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสาหรับการศึกษาหาวิธีการรักษาโรคมะเร็ง โดยกลไกการเหนี่ยวนาให้เซลล์มะเร็งเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ที่สามารถตายได้ เช่นเดียวกับเซลล์ปกติได้ต่อไป |
abstract: The aim of this special project was to study on cell culture model to evaluate colon cancer cell differentiation. Additionally, on the effect of 14 essential oils on cell differentiation induction were also evaluated. Essential oils included in this study were betel vine oil, citronella oil, clove oil, clove leaf oil, galangal oil, guava leaf oil, hairy basil oil, holy basil oil, kaffir lime oil, lemongrass oil, lesser galangal oil, lime oil, sweet basil oil, and turmeric oil. The duct numbers were measured and calculated duct formation activity as the fraction of the medium control. The result showed that hairy basil oil, holy basil oil, and guava leaf oil were highly effective essential oils in producing induced differentiation effect among the others. The fractions of them were 4.70, 4.03, and 3.81 respectively. The concentrations of essential oils were varied from 7.81 – 500 mcg/ml and interpreted the effect of inducing differentiation by compared with the fraction of 3-methylthiopropionic acid ethyl ester (MTPE). Most essential oils were able to induce differentiation except lemongrass oil and lime oil which showed the lower fraction of duct than MTPE. High concentration of some essential oils exhibited cytotoxicity of colon cancer cells. The results of this study can be used as preliminary data for further study on new mechanism of anti-carcinogenic agents, with less adverse effects. |
. |