การพัฒนาตำรับแคปซูลไพรอกซิแคม

โดย: พรภัทร บุราทร,พรสุรางค์ จำชาติ    ปีการศึกษา: 2537    กลุ่มที่: 39

อาจารย์ที่ปรึกษา: สมบูรณ์ เจตลีลา , ยุพิน รุ่งเวชวุฒิวิทยา , ฤดี เสาวคนธ์    ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชอุตสาหกรรม

Keyword: ,
บทคัดย่อ:
ไฟร็อกซิแคมเป็นยาในกลุ่มยาต้านการแฃอักเสบที่ไม่ใช่สเตรียรอยด์และมีขีดการละลายต่ำโครงการพิเศษนี้ทำการพัฒนาอัตราการละลายของไพร็อกซิแคมแคปซูลด้วยการเลือกใช้สารช่วยได้แก่ DCP (dibasic calcium phosphate) ซึ่งเป็นสารช่วยที่ไม่ละลายน้ำ lactose, sorbitol และ mannitol ซึ่งเป้นสารช่วยที่ละลายน้ำได้ดี CS (corn starch) เป็นสารช่วยแตกตัวและ SLS (sodium lauryl sulfate) ผสมผงยากับสารช่วยต่างๆในตำรับโดยมี Aerosil ® เป็นสารช่วยไหล นำผงยาจากการผสมมาบรรจุแคปซูล เบอร์ 2 ด้วยเครื่องบรรจุแคปซูลอัตโนมัติ ผลความแปรปรวนของน้ำหนักและเวลาในการแตกตัวทุกตำรับเข้ามาตรฐานของเภสัชตำรับ BP 1988cและ USP XX2 ตามลำดับ ยกเว้นความแปรปรวนของน้ำหนักในตำหรับ DCP จากการศึกษาอัตราการละลสยของตัวยาจากแคปซูลเมื่อใช้ DCP พบว่าอัตราการละลายตัวยาในครึ่งชั่วโมงแรกดังนี้ DCP + 10% CS> DCP > DCP + 0.1% SLS > DCP + 0.2% SLS® piroxicam powder เมื่อใช้สารเพิ่มปริมาณที่ละลายน้ำพบว่า lactose > manitol > feldene® > sorbitol® DCP + 10 % CS > piroxicam powder และในการทำ LSD (Least Signifkcant Difference Procedure :p=0.01,2-tailed) พบว่าปริมารการละลายตัวยาที่เวลา 45 นาที lactose > manitol ® feldene® sorbitol® DCP + 10 % CS > piroxicam powder แสดงให้เห็นว่า lactose เป็นสารเพิ่มปริมาณที่ทำให้อัตราการละลายของตัวยาสูงสุด เติม CS ในระบบที่ใช้ lactose พบว่าอัตราการละลายในครึ่งชั่วโมงแรก lactose > lactose + 6% CS > lactose + 10% CS >piroxicam powder ปริมาณการละลายที่เวลา 45 นาที lactose > lactose + 6% CS > lactose + 10% CS (p=0.01,2-tailed)
abstract:
The main objectives of this special project were to study the effect of various excipients on the dissolution profiles of piroxicam capsule and to enhance the dissolution rate of piroxicam powders. The water-insoluble used were DCP (dibasic calcium phosphate) and CS (corn starch), where as the water-soluble fillers were lactose, sorbitol, and mannitol, SLS (sodium lauryl sulfate) and Aerosil ®were used as surfactant and glidant, respectively. Two statistical methods selected to analyse the significant difference and to rank the dissolution data, ie. dissloved amounts of piroxicam from capsule of various formulations at 45 minutes of dissolution test, were ANOVA TEST and the least significant difference procedure (p = 0.01, 2-tailed), respectively. In the case of DCP used as the common filler, the order of ranking for dissolution enhancing ability was as follows: DCP + 10% CS® DCP ® DCP + 0.1% SLS ® DCP + 0.2 SLS ® piroxicam powders. In the case of soluble fillers, they could be ranked according to the efficiency in dissolution enhancement as follows: lactose ® feldene® manitol® sorbitol ® DCP + 10 % CS. Furthermore, in the case of corn starch used along with lactose, the order of ranking was as follows: lactose ® lactose + 6% CS ® lactose + 10% CS.
.