การพัฒนาตารับซาเชต์แคลเซียมจากเปลือกไข่

โดย: นางสาวณัฐณิชา จริยานุรัตน์, นายพงศ์ศิริ ใจนพเก้า    ปีการศึกษา: 2557    กลุ่มที่: 37

อาจารย์ที่ปรึกษา: พจวรรณ ลาวัลย์ประเสริฐ , สมบูรณ์ เจตลีลา , พิสมัย กุลกาญจนาธร    ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชอุตสาหกรรม

Keyword: แคลเซียม, แคลเซียมซิเตรด, เกลือแคลเซียมผสม, เปลือกไข่, ซาเชต์, Calcium, Calcium citrate, Calcium citrate acetate, Eggshell, Sachet
บทคัดย่อ:
โครงการพิเศษนี้จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาตารับอาหารเสริมแคลเซียมจากเปลือกไข่ในรูปแบบซาเชต์ การศึกษาตอนแรกเป็นการพัฒนาวิธีการกาจัดชั้นเคลือบสีน้าตาลของเปลือกไข่ โดยหาความเข้มข้นของกรดอะซิติก และเวลาที่ใช้ พบว่ากรดอะซิติกที่ความเข้มข้นร้อยละ 50 น้าหนัก/ปริมาตรและเวลา 60 นาที เป็นสภาวะที่เหมาะสมที่สุดจากนั้นทาการพัฒนาวิธีการเตรียมผงเปลือกไข่ซึ่งไม่ละลายน้าให้อยู่ในรูปที่ละลายน้าได้ โดยเตรียมเป็นแคลเซียมอะซิเตด แคลเซียมซิเตรด และเกลือแคลเซียมผสมของแคลเซียมซิเตรดกับแคลเซียมอะซิเตดในการเตรียมเกลือแคลเซียมผสมของแคลเซียมซิเตรดกับแคลเซียมอะซิเตด พบว่าการทาปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 0+2 องศาเซลเซียส และทาให้แห้งที่ 120 องศาเซลเซียส เป็นวิธีที่เหมาะสมที่สุด นาผงเกลือแคลเซียมผสมที่ได้ไปศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและเคมี ได้แก่ รูปร่างลักษณะภายนอก ลักษณะอนุภาค ความหนาแน่น การไหล ปริมาณความชื้น การพิสูจน์เอกลักษณ์ การละลาย และการวิเคราะห์หาปริมาณแคลเซียม พบว่าแคลเซียมซิเตรดละลายน้าได้น้อย การละลายของผงเกลือแคลเซียมผสมดีกว่าแคลเซียมซิเตรด นอกจากนี้พบว่าผงเกลือแคลเซียมผสมมีปริมาณแคลเซียมในปริมาณร้อยละ 22.59 โดยน้าหนัก
abstract:
The objective of this special project was to develop formulation of eggshell calcium sachet. The first part of this work was developing the method used to remove brown eggshell coat. The appropriate concentration of acetic acid and the reaction time were determined. It was found that 50% w/v acetic acid and 60 minute was the most appropriate condition. The water insoluble eggshell powder was then developed into soluble forms, which were calcium acetate, calcium citrate and calcium citrate acetate. It was found that the best condition used for calcium citrate acetate preparation was 0 + 2 degree Celsius reaction temperature and 120 degree Celsius drying temperature. The physicochemical properties of calcium citrate acetate which were physical appearance, particle characterization, densities, flowability, moisture content, identification, dissolution and calcium content were investigated. It was found that calcium citrate slightly dissolved in water while calcium citrate acetate was more soluble than calcium citrate. Additionally, the calcium content of calcium citrate acetate was found to be 22.59 percent by weight.
.