การพัฒนาตำรับยาเม็ดฟู่จากสารสกัดใบรา

โดย: น.ส.ปัทมาภรณ์ สุพัฒนากูล ,น.ส.ฐิติวรดา เหล่    ปีการศึกษา: 2556    กลุ่มที่: 37

อาจารย์ที่ปรึกษา: มนตรี จาตุรันต์ภิญโญ , ปิยนุช โรจน์สง่า    ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชอุตสาหกรรม

Keyword: ยาเม็ดฟู่, แกรนูลเปียก, รางจืด, effervescent tablet, wet granulation, Thunbergia laurifolia Lindl.
บทคัดย่อ:
รางจืดเป็นสมุนไพรที่กาลังได้รับความนิยมในปัจจุบัน โดยมีสรรพคุณแก้พิษที่เกิดจาก ยาฆ่าแมลง และแก้เบื่อเมา โดยส่วนใหญ่จะรับประทานโดยการชงดื่ม ซึ่งไม่สะดวกต่อผู้บริโภค โครงการพิเศษนี้จึงพัฒนาสูตรตารับยาเม็ดฟู่จากสารสกัดใบรางจืด เพื่อเพิ่มความสะดวกต่อการบริโภค ตารับยาเม็ดฟู่นี้เตรียมผ่านวิธีการทาแกรนูลเปียกโดยใช้แอลกอฮอล์และนาไปตอกเม็ด โดยสูตรตารับประกอบด้วยสารสกัดใบรางจืด กรดซิตริก กรดทาร์ทาริก โซเดียมไบคาร์บอเนต สารเพิ่มความหวานแทนน้าตาล สารยึดเกาะ และสารกันติด โดยกาหนดปริมาณของสารสกัดใบรางจืดต่อหนึ่งเม็ดจากการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี Diphenylpicrylhydrazyl (DPPH) assay และเลือกสัดส่วนของสารประกอบในตารับให้เหมาะสมจากรสชาติและความสามารถในการตอกเป็นเม็ด จากนั้นนามาประเมินคุณสมบัติทางกายภาพ ได้แก่ ความแปรปรวนของน้าหนักเม็ดยา ความแข็ง การแตกตัว และปริมาณฟลาโวนอยด์ในตารับ จากผลการทดลองพบว่าในการพัฒนายาเม็ดฟองฟู่ต้องใช้ปริมาณสารสกัดรางจืด 50 มิลลิกรัมต่อเม็ด ซึ่งตารับที่ให้รสชาติและคุณสมบัติทางกายภาพที่ดีที่สุด ประกอบด้วย กรดซิตริก กรดทาร์ทาริก และโซเดียมไบคาร์บอเนต ในอัตราส่วน 1:2:3 ปริมาณ 60% sucralose 5% PVP- K30 4% aerosol 2.5% และ PEG 6000 3% w/w โดยมีความแข็ง 3 กิโลกรัม เวลาในการแตกตัว 3:57 นาที ปริมาณของฟลาโวนอยด์ในตารับ 97.3% ความกร่อนและความแปรปรวนของน้าหนัก ผ่านตามข้อกาหนดหัวข้อ Dietary supplement ตามเภสัชตารับสหรัฐอเมริกา เล่มที่ 35 ซึ่งเหมาะต่อการนาไปพัฒนาต่อในระดับอุตสาหกรรมต่อไป
abstract:
Rang Chuet (Thunbergia laurifolia Lindl.) has become a popular herb used as an antidote for poisons from various substances. Usually, it is brewed and drunk. However, this is inconvenient for modern life. This special project was thus aimed to develop an effervescent tablet formulation from Thunbergia laurifolia Lindl. extract to improve consumer compliance. The effervescent tablet composed of citric acid, tartaric acid, sodium bicarbonate, sweetener, antiadherant, lubricant, and flavor. It was prepared by wet granulation method using alcohol, and compressed with a single punch tableting machine. Amount of Rang Chuet extraction required for one tablet was determined by Diphenylpicrylhydrazyl (DPPH) assay. The appropriate formulation was selected by its taste and compactability. Obtaining effervescent tablets were then evaluated in terms of weigh variation, hardness, disintegration time and total flavonoid content. DPPH assay indicated that 50 mg of Rang Chuet extract was required for one tablet. The most satisfactory effervescent tablet formulation in terms of taste and physical property consisted of citric acid:tartaric acid:sodium bicarbonate (1:2:3) 60%, sucralose 5%, PVP–K30 4%, aerosilฎ 2.5 %, and PEG 6000 3% w/w. It had hardness of 3 kg, disintegration time at 3:57 minutes and total flavonoids of 97.3%. The weight variation of obtaining tablet conformed to the requirement of USP 35 for dietary supplement. The further study should develop the manufacturing process for industrial scale production.
.