นางสาวกมลทิพย์ พรหมศิริ, นางสาวสุวิชญา แสงภู่วงค์, นางสาวอโณทัย หาญเจริญ |
โดย: การแยกหาสารออกฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน ในดอกกันภัยมหิดล ปีการศึกษา: 2557 กลุ่มที่: 32 อาจารย์ที่ปรึกษา: ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย Keyword: ฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน, กันภัยมหิดล, Antioxidant activity, Afgekia mahidoliae |
บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือ เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน และ แยกหาสาระสาคัญ ที่มีฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน จากสารสกัดด้วยเมทานอลจากดอกของต้นกันภัยมหิดล (Afgekia mahidoliae) ซึ่งเป็นต้นไม้ประจามหาวิทยาลัยมหิดล โดยขั้นตอนการดาเนินงานวิจัยเริ่มจากการสกัดดอกของต้นกันภัยมหิดลโดยการหมักด้วย เมทานอล ได้สารสกัดหยาบเมทานอลทั้งหมด 81.8722 กรัม และนาสารสกัดมาทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ 1,1-diphenyl-2-picrylhydrazyl (DPPH) ซึ่งเป็นอนุมูลอิสระที่มีความคงตัว ด้วยวิธี Thin layer chromatography (TLC) และสเปกโทรโฟโตเมตริก (spectrophotometric method) พบว่าสารสกัดหยาบด้วยเมทานอลของดอกกันภัยมหิดลมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH และมีค่า IC50 เท่ากับ 405.75± 58.76 μg/mL จึงนาสารสกัดเมทานอลของดอกกันภัยมหิดลมาแยกด้วยวิธีทางโครมาโตกราฟฟี และนาส่วนของสารสกัดที่ได้ไปทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH ด้วย TLC จากนั้นนาส่วนของสารสกัดที่มีฤทธิ์ไปแยกต่อด้วยวิธี column chromatography ได้สาร 6 ชนิด ซึ่งสามารถพิสูจน์โครงสร้างได้เป็น stigmasterol ผสมกับ β-sitosterol, daucosterol, kaempferol-3-O-β-glucopyranoside, kaempferol และ 3-O-methyl inositol (pinitol) โดยเปรียบเทียบข้อมูลจากสเปกตรัม 1H-NMR และ 13C-NMR (Nuclear Magnetic Resonance) กับข้อมูลที่เคยมีรายงานมาก่อน แต่จากการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH ของสารทั้ง 6 ชนิด ด้วย TLC พบว่ามีสารบริสุทธิ์ที่มีฤทธิ์ 3 ชนิด คือ kaempferol-3-O-β-glucopyranoside, 3-O-methyl inositol และ kaempferol เมื่อทาการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH ของสารบริสุทธิ์ทั้ง 3 ชนิดโดยใช้วิธี DPPH assay เพื่อหาค่า IC50 โดยศึกษาเทียบกับสารมาตรฐาน gallic acid พบว่าสารบริสุทธิ์ที่ออกฤทธิ์ดีที่สุดคือ kaemferol โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 37.79±5.62 μg/mL ส่วน kaempferol-3-O-β-glucopyranoside และ 3-O-methyl inositol นั้นมีฤทธิ์น้อยเนื่องจากที่ความเข้มข้น 100 μg/mL มีค่าร้อยละของการยับยั้งอนุมูลอิสระ DPPH เพียง 18.21 % and 6.52 % ตามลาดับ |
abstract: This research focused on studying the antioxidative effect and isolating the antioxidant compounds from the methanol extract of the flowers of Afgekia mahidoliae (Kan phai Mahidol), the symbolic plant of Mahidol University. The dried flowers of Afgekia mahidoliae were extracted by maceration with methanol to yield 81.8722 g of the dried crude extract. The antioxidative effect of the crude methanol extract was first evaluated by 1,1-diphenyl-2-picrylhydrazyl (DPPH) radical scavenging activity with thin layer chromatography (TLC) method. It was found that the methanol extract showed anti-DPPH activity. Furthermore, the IC50 value of the crude methanol extract by spectrophotometric method was 405.75± 58.76 μg/mL. Then methanol extract of A. mahidoliae was separated by chromatography technique. The obtained fractions were tested for DPPH radical scavenging activity with TLC. The fractions that had antioxidant effect were further separated by column chromatography to give 6 compounds which were identified to be the mixture of stigmasterol and β-sitosterol, daucosterol, kaempferol 3-O-β-glucopyranoside, kaempferol and 3-O-methyl inositol (pinitol) by comparison of their 1H- and 13C-NMR (Nuclear Magnetic Resonance) spectra with the previous reports. The six isolated compounds were then tested for DPPH radical scavenging activity with TLC method. Among those, three compounds, kaempferol-3-O-glucopyranoside, 3-O-methyl inositol and kaempferol, showed antioxidant property against DPPH radicals on the TLC plate. Therefore, kaempferol-3-O-glucopyranoside, 3-O-methyl inositol and kaempferol were tested for DPPH radical scavenging activity by using DPPH assay and gallic acid was used as a reference standard. The results showed that kaempferol exhibited the strongest inhibitory activity with the IC50 value of 37.79±5.62 μg/mL. Whereas, kaempferol-3-O-β-glucopyranoside and 3-O-methyl inositol showed weak activity with 18.21 and 6.52 % inhibition at the concentration 100 μg/mL, respectively. |
. |