การทดสอบฤทธิ์ต้านจุลชีพและต้านอนุมูลอิสระของตำรับริดสีดวงมหากาฬ

โดย: น.ส.ชุติมณฑน์ อุดมเกียรติกูล, น.ส.พิชญ์ภิญญาณ์ แก้วปานันท์    ปีการศึกษา: 2556    กลุ่มที่: 3

อาจารย์ที่ปรึกษา: ปิยทิพย์ ขันตยาภรณ์ , นิศารัตน์ ศิริวัฒนาเมธานนท์ , มัลลิกา ชมนาวัง    ภาควิชา: ภาควิชาจุลชีววิทยา

Keyword: ตารับริดสีดวงมหากาฬ, ฤทธิ์ต้านจุลชีพ, ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ, Rid-Si-Duang-Mahakal Formula, antimicrobial activity, antioxidant activity
บทคัดย่อ:
โครงการพิเศษนี้จัดทาขึ้นเพื่อทดสอบฤทธิ์ต้านจุลชีพและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของตารับริดสีดวงมหากาฬและสารสกัดสมุนไพรทั้ง`22 ชนิดที่เป็นส่วนประกอบ ได้แก่ มดยอบคั่ว ขอบชะนางแดง ขอบชะนางขาว โกฐกักกรา โกฐสอ โกฐจุฬาลาพา โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา เทียนดา เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน แก่นสนเทศ ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ เถาสะค้าน เปลือกสมุลแว้ง ดอกดีปลี พริกไทยล่อน เหง้าขิง และ เปลือกอบเชยเทศ การศึกษาฤทธิ์ต้านจุลชีพได้ทาการทดสอบโดยวิธีทางจุลชีววิทยา คือ Broth microdilution method โดยทาการศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก คือ Staphylococcus aureus และเชื้อแบคทีเรีย แกรมลบ ได้แก่ Escherichia coli, Pseudomonas aeruginosa และ Salmonella typhi พบว่า สารสกัดทุกชนิดสามารถต้านแบคทีเรียได้ แต่อย่างไรก็ตามความสามารถดังกล่าวของสารสกัด แต่ละตัวมีความแตกต่างกัน ส่วนการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้ทาการทดสอบหา Total phenolic content โดยวิธี Folin-Ciocalteau method พบว่าสารสกัดทุกชนิดมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ โดยโกฐพุงปลา สมุลแว้ง และอบเชย เป็นสมุนไพรที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระมากที่สุด 3 อันดับแรกเรียงตามลาดับ
abstract:
The aim of this special project is to determine antimicrobial activity and antioxidant activity of Rid-Si-Duang-Mahakal formula. Twenty-two plant extracts in the formula are composed of Nigella sativa L., Foeniculum vulgare Mill. var dulce Alef., Piper retrofractum Vahl, Pistacia integerrima Stew. ex. Brandis, Zingiber officinale Roscoe., Artemisia annua L., Pouzolzia pentandra Benn., Picrorhiza kurroa Royle ex Benth., Myristica fragrans Houtt., Terminalia chebula Retz. var. chebula, Piper ribesoides Wall, Cinnamomum verum J. Presl, Commiphora molmol Engl. Ex Tschirch, Angelica dahurica Benth., Thuja orientalis L., Lepidium sativum L., Piper nigrum L., Anethum graveolens L., Cuminum cyminum L., Temmodaphne thailandica Kosterm., Myristica fragrans Houtt., and Pouzolzia indica (L.) Gaudich. In this study, antibacterial activity of each plant extracts and whole formula were determined by broth microdilution method against gram positive (Staphylococcus aureus) and gram negative bacteria (Escherichia coli, Pseudomonas aeruginosa and Salmonella typhi). We found that all plant extracts exhibit different levels of antimicrobial activity. In order to determine antioxidant activity, total phenolic content was determined by Folin-Ciocalteau method. We also found that all plant extracts could have antioxidant activity. The first three plant extracts that have highest antioxidant activity are Terminalia chebula Retz. var. chebula, Temmodaphne thailandica Kosterm. and Cinnamomum verum J. Presl.
.