การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสมุนไพรที่ใช้แก่นในทางยา |
โดย: นายธนกร วงศ์จารุเดช, นายจตุพร จันทร์แผ้ว ปีการศึกษา: 2559 กลุ่มที่: 29 อาจารย์ที่ปรึกษา: วีนา นุกูลการ , สมนึก บุญสุภา , ชุติมา เพ็ชรประยูร , ภานุพงษ์ พงษ์ชีวิน ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย Keyword: Artocarpus heterophyllus Lam., Caesalpinia sappan L., ไม้แก่น, ขนุน, ฝาง, การชักนาให้เกิดแคลลัส, ทีแอลซี, Artocarpus heterophyllus Lam., Caesalpinia sappan L., Jackfruit, Heartwood, Callus induction, TLC |
บทคัดย่อ: โครงการพิเศษนี้จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาเพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมในการชักนาให้เกิดแคลลัส และองค์ประกอบสารสาคัญของไม้แก่น โดยการศึกษานี้ได้ศึกษาส่วนกิ่ง และใบของต้นขนุน (Artocarpus heterophyllus Lam.) และส่วนกิ่งของต้นฝาง (Caesalpinia sappan L.) โดยทาการชักนาให้เกิดแคลลัสที่อุณหภูมิ 25 ± 2 oC ในสภาวะมีแสง และไม่มีแสง โดยอาหารสูตร Murashige & Skoog (MS) ร่วมกับ ฮอร์โมนพืชชนิดต่างๆ ได้แก่ 6-Benzylaminopurine (BAP), 1-Naphtaleneacetic acid (NAA) และ2,4-Diclorophenoxyacetic acid (2,4-D) ด้วยความเข้มข้นที่แตกต่างกัน จากการศึกษาพบว่าวิธีการทาให้ปราศจากเชื้อของส่วนกิ่ง และใบต้น A. heterophyllus Lam ที่เหมาะสม คือฟอกด้วย 1% NaOCl เป็นเวลา 10 นาที โดย ชิ้นส่วนกิ่งมีอัตราการรอดชีวิต 87% (117/135) และชิ้นส่วนใบ มีอัตราการรอดชีวิต 100% (6/6) สภาวะที่เหมาะสมสามารถชักนาให้เกิดแคลลัสได้สูงที่สุดคือ ชิ้นส่วนกิ่ง โดยเพาะเลี้ยงในอาหารสูตร ½ MS BAP 1.5 mg/L + NAA 0.5 mg/L พบว่ามีแคลลัสเกิดขึ้น 71%(5/7) เมื่อนาแคลลัสที่ได้ไปสกัดด้วย 95% ethanol และวิเคราะห์องค์ประกอบสารสาคัญด้วยวิธี ทีแอลซี พบว่าใน A. heterophyllus Lam. ส่วนของ ลาต้น ใบ รากจากต้นกล้า แก่น กิ่งจากต้นเต็มวัย และแคลลัส ไม่มีสาร resveratrol และ oxy-resveratrol อีกทั้งแคลลัสสีเขียว, น้าตาล และน้าตาลเข้ม ยังไม่มีความคล้ายคลึงกับตัวอย่างจากธรรมชาติ ส่วนกิ่งของต้น C. sappan L. ยังไม่พบวิธีที่ทาให้ปราศจากเชื้อ และสูตรอาหารที่เหมาะสมสามารถชักนาให้เกิดแคลลัสได้ |
abstract: Aim of this special project was to optimize the condition for callus induction and phytochemical screening of heartwood. This special project used shoots and leaves of Artocarpus heterophyllus Lam. and shoot of Caesalpinia sappan L.. Callus was induced by 25 ± 2 oC, light or dark condition in Murashige & Skoog (MS) medium supplemented with different concentration of phytohormones i.e. 6-Benzylaminopurine (BAP), 1-Naphtaleneacetic acid (NAA) and 2,4-Diclorophenoxyacetic acid (2,4-D). The optimal condition for sterilization of shoots and roots of A. heterophyllus Lam. was 1% NaOCl 10 minutes [%Suvival of shoots 87%(117/135), %Survival of leaves 0%(0/6)]. The best condition for inducing callus is shoots was by the using media ½ MS BAP 1.5 mg/L + NAA 0.5 mg/L [71% (5/7)]. The obtained callus were extracted by 95% ethanol and phytochemical screening by TLC method. Our results showed that resveratrol and oxy-resveratrol do not present in young stems, young leaves, young root, mature stem, mature heart-wood, green callus, brown, dark brown of A. heterophyllus Lam. TLC fingerprint showed that green, brown and dark brown callus exhibited not similar pattern to the sample from natural. The attempt to find sterilization condition and optimal media for callus induction of C. sappan L. were not success. |
. |