การพัฒนานํ้ายาบ้วนปากสมุนไพร ที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ Candida albicans

โดย: วรณัน วิทยาพิภพสกุล, วิชชุดา ธาดา    ปีการศึกษา: 2553    กลุ่มที่: 20

อาจารย์ที่ปรึกษา: สมภพ ประธานธุรารักษ์ , ม.ล.สุมาลย์ สาระยา    ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์

Keyword: น้ำยาบ้วนปากสมุนไพร, ตะไคร้, กะเพรา, เสม็ดขาว, Herbal mouthwash, Lemongrass, Holy basil, Cajuput tree, Candida albicans ATCC 10231
บทคัดย่อ:
วัตถุประสงค์ของโครงการนี้เพื่อพัฒนาน้ำยาบ้วนปากสมุนไพรที่มีฤทธิ์ยับยั้งการ เจริญเติบโตของเชือ้ Candida albicans ซึ่งเป็นสาเหตุของโรค Oral candidiasis โดยศึกษา เบือ้ งต้นถึงฤทธิ์ยับยัง้ เชือ้ ด้วยวิธี Disc diffusion โดยใช้น้ำ มันหอมระเหยจากสมุนไพร 3 ชนิด ได้แก่ ตะไคร้ (Cymbopogon citratus Stapf) กะเพรา (Ocimum tenuiflorum L.) และเสม็ดขาว (Melaleuca quinquenervia (Cav.) S.T.Blake) พบว่า น้ำ มันหอมระเหยทุกชนิดสามารถยับยัง้ การเจริญเติบโตของเชือ้ C. albicans ATCC 10231ได้ จากนั้น นำน้ำ มันหอมระเหยทัง้ 3 ชนิดไป ทดสอบหาความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยัง้ เชือ้ ได้ (Minimum Inhibitory Concentration, MIC) และความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถฆ่าเชื้อได้ (Minimum Fungicidal Concentration, MFC) โดยวิธี Broth dilution พบว่าน้ำ มันตะไคร้ กะเพรา และเสม็ดขาว มีค่า MIC เท่ากับ 1.56x10-2, 0.50 และ 1.82x10-2 % v/v ตามลำดับ และ MFC เท่ากับ 1.56x10-2, 1.00 และ 6.25 x10-2 % v/v ตามลำดับ จากผลการทดลอง จึงได้เลือกน้ำ มันตะไคร้และน้ำ มันเสม็ดขาวไปพัฒนาเป็นน้ำ ยา บ้วนปากที่มีความเข้มข้น 2 % v/v และนำไปทดสอบหาฤทธิ์ยับยัง้ เชือ้ C. albicans โดยวิธี Disc diffusion พบว่า น้ำ ยาบ้วนปากน้ำ มันเสม็ดขาวมี Inhibition zone เท่ากับ 14 มม. ซึ่งผลการยับยัง้ การเจริญเติบโตของเชือ้ ดีกว่าน้ำ มันตะไคร้และ Nystatin oral suspension (Tystatin®) ซึ่งมี Inhibition zone เท่ากับ 9.3 และ 9 มม. ตามลำดับ และเมื่อนำไปทดสอบฤทธิ์ยับยัง้ เชือ้ ที่เวลา ต่างๆ พบว่า น้ำยาบ้วนปากน้ำ มันตะไคร้สามารถลดจำนวนเชือ้ C. albicans ได้เร็วกว่าน้ำ ยาบ้วน ปากน้ำ มันเสม็ดขาว น้ำ ยาบ้วนปากตะไคร้ที่เตรียมได้มีสีเขียวอมฟ้ าใส pH 5.21 ส่วนน้ำ ยาบ้วน ปากเสม็ดขาวมีสีน้ำ ตาลอ่อนใส pH 5.22 เมื่อเก็บน้ำ ยาบ้วนปากสมุนไพรที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 1 เดือน พบว่าตำรับมีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ แต่ยังคงมีฤทธิ์ยับยัง้ เชือ้ ดังนัน้ จึงควรมีการ พัฒนาตำรับให้ดีขึน้ ต่อไป
abstract:
The objective of this project is to develop the herbal mouthwash against Candida albicans, which causes oral candidiasis. In a preliminary study of three volatile oils, Lemongrass (Cymbopogon citratus Stapf), Holy basil (Ocimum tenuiflorum L.), and Cajuput tree (Melaleuca quinquenervia (Cav.) S.T.Blake) the antifungal activity of those against C. albicans ATCC 10231 using Disc diffusion method were observed. After that, the volatile oils were tested for determining the Minimum Inhibitory Concentration (MIC) and the Minimum Fungicidal Concentration (MFC) by Broth dilution method. The MIC of Lemongrass oil, Holy basil oil, and Cajuput oil are 1.56x10-2, 0.50, and 1.82x10-2 % v/v, respectively, and the MFC are 1.56x10-2, 1.00, and 6.25 x10-2 % v/v, respectively. Accordingly, Lemongrass oil and Cajuput oil were chosen and formulated. The 2% v/v mouthwashes were tested by Disc diffusion method. The Cajuput oil mouthwash was found the most active at 14.0 mm inhibition zone diameter where that of Lemongrass oil mouthwash and Nystatin oral suspension (Tystatin®) are 9.3 and 9.0 mm respectively. However, the Lemongrass oil mouthwash took shorter time than the Cajuput oil mouthwash for decreasing the colony forming unit of C. albicans. The Lemongrass oil mouthwash was clear, blue-green color, and pH 5.21. The Cajuput oil mouthwash was clear, light yellow-brown color, and pH 5.22. After 1 month storage in room temperature, the mouthwashes were physically unstable, yet the effect against C. albicans remained. Therefore, the formulations should be further developed.
.