การควบคุมคุณภาพทางเคมีของสารสกัดแก่นมะหาด |
โดย: น.ส.ศศิธร อาจวิชัย ,น.ส.พิมพ์รวินท์ เขียวป้อง ปีการศึกษา: 2556 กลุ่มที่: 19 อาจารย์ที่ปรึกษา: ปิยนุช โรจน์สง่า , สวรรยา บูรณะผลิน , ปองทิพย์ สิทธิสาร ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชเคมี Keyword: มะหาด, ออกซิเรสเวราทรอล, โลชั่น, ทีแอลซี-เด็นซิโตเมทรี, Atrocapus lakoocha heartwood, oxyresveratrol, lotion, TLC-densitometry |
บทคัดย่อ: มะหาด เป็นพืชในวงศ์ Moraceae สารสาคัญในมะหาด ได้แก่ ออกซิเรสเวราทรอลซึ่งมี รายงานว่ามีฤทธิ์ยับยัง้ เอนไซม์ไทโรซิเนสที่จาเป็นต่อขบวนการสร้างเมลานิน จึงมีการนาสารสกัด มะหาดไปใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะสารทาให้ผิวขาว ในการวิจัยนีจึ้ง ศึกษาการเตรียมสารสกัดแก่นมะหาด 2 วิธี คือการต้มด้วยนา้ และหมักด้วย 70% เอทานอล พบว่าการเตรียมสารสกัดแก่นมะหาดโดยการต้มด้วยนา้ ให้นา้ หนักสารสกัดร้อยละ 23.9 ซึ่งน้อย กว่าการหมักด้วย 70% เอทานอลซึ่งให้นา้ หนักสารสกัดร้อยละ 39.4 เมื่อศึกษาส่วนประกอบทาง เคมีโดยใช้วิธีทินเลเยอร์โครมาโทกราฟี พบออกซิเรสเวราทรอลในสารสกัดทัง้ 2 ชนิด จากการ ประเมินวิธีวิเคราะห์ที่พัฒนาขึน้ เพื่อวิเคราะห์ปริมาณออกซิเรสเวราทรอลโดยวิธีทีแอลซีเด็นซี-เด็น ซิโตเมทรี พบว่าปริมาณออกซิเรสเวราทรอลมีความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงที่ความยาวคลื่น 327 นาโน เมตร ในช่วง 200-1000 นาโนกรัมต่อ 1 แถบสาร (R2>0.99) และมีร้อยละการคืนกลับ 90.19 - 112.94 โดยมีความแม่นยาของการวิเคราะห์ภายในวันเดียวกันและต่างวันกันในรูป % RSD น้อย กว่า 7.20 และเมื่อวิเคราะห์ปริมาณออกซิเรสเวราทรอลในสารสกัดที่เตรียมได้ พบว่าสารสกัดจาก การต้มด้วยนา้ ให้ปริมาณออกซิเรสเวราทรอลร้อยละ 6.80 ซึ่งน้อยกว่าสารสกัดจากการหมักด้วย 70% เอทานอล ที่ให้ปริมาณออกซิเรสเวราทรอลร้อยละ 7.66 นอกจากนี ้เมื่อวิเคราะห์ปริมาณ ออกซิเรสเวราทรอลในผลิตภัณฑ์โลชนั่ ที่ระบุว่ามีสารสกัดแก่นมะหาดด้วยวิธีทีแอลซีเด็นซี-เด็นซิโต เมทรีไม่พบออกซิเรสเวราทรอลในตัวอย่างผลิตภัณฑ์โลชนั่ ทัง้ 3 ชนิด |
abstract: Oxyresveratrol is an active substance in Atrocapus lakoocha Roxb., a plant in Moraceae family. It can inhibit tyrosinase, an enzyme involving in melanin synthesis. Recently, the extract from Atrocapus lakoocha heartwood is widely used in cosmetics, especially as whitening agent. In this study, two extraction methods, decoction with water and maceration with 70% ethanol were used to extract Atrocapus lakoocha heartwood. It was found that decoction and 70% ethanol maceration gave extracts with 23.9 and 39.4 %yield, respectively. Phytochemical study using thin layer chromatography showed that both extracts contained oxyresveratrol. To determine oxyresveratrol in the extract, TLC-densitometric method was validated. A linear correlation was obtained at the wavelength of 327 nm over the linearity range 200-1000 ng/spot (R2>0.99). The recovery of oxyresveratrol was 90.19-112.94%. The relative standard deviation (RSD) from intra-day and inter-day precision were less than 7.20%. Maceration with 70% ethanol gave a higher content (7.66 %w/w) of oxyresveratrol than decoction with water (6.80 %w/w). Furthermore, a TLC-densitometric method was used to analyze oxyresveratrol content in three lotions that claimed to contain Atrocapus lakoocha heartwood extract. It was found that there were no oxyresveratrol in those lotions. |
. |