การศึกษาและพัฒนาตำรับเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพที่ประกอบด้วยสารสกัดจากใบชา |
โดย: น.ส.กีรติ วรโศภิษฐ์ ,น.ส.สุนิสา เมธีวรรณกิจ ปีการศึกษา: 2556 กลุ่มที่: 14 อาจารย์ที่ปรึกษา: พิมลพรรณ พิทยานุกุล , จิราพร เลื่อนผลเจริญชัย ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชกรรม Keyword: สารสกัดชา, เครื่องดื่ม, สารต้านอนุมูลอิสระ, วิธี Folin-Ciocalteu, วิธี Aluminium chloride colorimetric, วิธี Ferric thiocyanate (FTC), วิธี 2,2-Diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH), วิธี Ferrous metal chelation method, Tea extract, Beverage, Antioxidant, Folin-Ciocalteu method, Aluminium chloridecolorimetric method, Ferric thiocyanate method (FTC), 2,2-Diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) method,Ferrous metal chelation method |
บทคัดย่อ: ชาเป็นเครื่องดื่มที่มีการบริโภคอย่างแพร่หลาย ได้จากใบของต้นชา (Camellia sinensis L.) ซึ่งเป็นพืชในตระกูล Theaceae การบริโภคเครื่องดื่มชาเขียวได้รับการแนะนาว่าให้ประโยชน์ที่ ดีต่อสุขภาพ สารสาคัญคือ Catechins และ Polyphenols จากใบชามีประสิทธิภาพในการดักจับ อนุมูลอิสระของออกซิเจนในหลอดทดลอง และอาจทาหน้าที่เป็นสารต้านอนุมูลอิสระในระบบ ทางเดินอาหารหรือในเนือ้ เยื่ออื่นๆภายหลังจากการบริโภค วัตถุประสงค์ของโครงการพิเศษนีไ้ ด้นา สารสกัดชาเขียวที่คัดเลือกจากท้องตลาดมาทาการศึกษา โดยการวิเคราะห์เพื่อหาปริมาณทัง้ หมด ของสาร Phenolic และ Catechin ด้วยวิธี Folin-Ciocalteu assay และ Aluminium chloride colorimetric assay ทาการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดชาโดยการวิเคราะห์ในหลอด ทดลองด้วยวิธี 2,2-Diphenyl-1-picrylhydrazyl assay, Ferrous metal chelation assay และ Ferric thiocyanate เครื่องดื่มที่ประกอบด้วยสารสกัดชาเขียวได้รับการพัฒนา โดยเติมสารแต่งรส หวาน สารปรุงแต่งรสชาติและสารกันเสีย และทาการทดสอบความคงตัวทัง้ ทางกายภาพและเคมี ที่อุณหภูมิ 15 °C, 30 °C และ 40 °C เป็นเวลานาน 30 วัน ผลการวิจัยพบว่า ใน 100 มิลลิกรัมของสารสกัดชาเขียว ประกอบด้วยสารประกอบ Phenolic 34.48 มิลลิกรัม และสาร Catechin 7.68 มิลลิกรัม ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดชา จะแปรผันโดยตรงกับความเข้มข้นที่ใช้ โดยค่า half maximal inhibitory concentration (IC50) ของ สารสกัดชาที่ทดสอบด้วยวิธี DPPH และ Ferrous metal chelation assay มีค่าเท่ากับ 0.22 mg/mL และ 45.5 mg/mL ตามลา ดับ และพบว่าตารับเครื่องดื่มชาที่พัฒนาขึน้ มีความคงตัวดีที่สุด เมื่อเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 15 °C โดยมีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพน้อยที่สุด ไม่ว่าจะเป็นในแง่ของ สี กลิ่น การเกิดตะกอน และ pH ซึ่งผลที่ได้สอดคล้องกับการประเมินความคงตัวทางเคมีของชา ซึ่ง พบว่าการเก็บที่อุณหภูมิ 15 °C จะรักษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของเครื่องดื่มชาได้มากที่สุด |
abstract: Tea, the most widely used beverage, is obtained from plant Camellia sinensis L. leaves, family Theaceae. The consumption of green tea beverages have been suggested to bring positive health effects. Tea Catechins and Polyphenols are effective scavengers of reactive oxygen species in vitro and may also function indirectly as antioxidants in the digestive tract or in other tissues after uptake. The aim of this special project was to study on a selected commercial green tea extract. The total Phenolic and Catechin contents were determined by Folin-Ciocalteu assay and Aluminium chloride colorimetric assay. The antioxidant activity of the tea extract was measured using in vitro assays by evaluating the free radical scavenging capacity of 2,2-diphenyl-2- picrylhydrazyl (DPPH), Ferrous metal chelation assay and Ferric thiocyanate method. Drinks containing green tea extract were developed with the addition of sweeteners, favors and preservatives. The preparations were evaluated for their physical and chemical stabilities for 30 days at 15 °C, 30 °C and 40 °C. The results indicated that 100 mg of the selected green tea extract contains 34.48 mg Phenolic compounds and 7.68 mg of Catechin. The extract demonstrated dose dependent antioxidant activity with DPPH and ferrous metal chelation assays with the half maximal inhibitory concentration (IC50) of 0.22 mg/mL and 45. 5 mg/mL, respectively. The developed preparations of green tea drinks exhibited best stability at 15 °C with slight changes in color, odor, precipitation and pH. The chemical antioxidant activities of the preparations were proved to be best at 15 °C. |
. |