การพัฒนาสเปรย์พ่นปากว่านหางจระเข้และสเปรย์พ่นปากใบบัวบกสา หรับเยื่อบุช่องปากอักเสบ |
โดย: นายณัฐนันท์ อมรสมานลักษณ์, นายภควิชญ์ จุฬาธรรมกุล ปีการศึกษา: 2559 กลุ่มที่: 11 อาจารย์ที่ปรึกษา: อัญชลี จินตพัฒนกิจ , วีรวัฒน์ ตีรณะชัยดีกุล ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชกรรม Keyword: สเปรย์พ่นปาก, Acemannan, ECa 233, เยื่อบุช่องปากอักเสบ, Mouth spray, Acemannan, ECa 233, oral mucositits |
บทคัดย่อ: โครงการพิเศษนีมี้วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสเปรย์พ่นปากที่มีสมบัติยึดเกาะเยื่อเมือก สาหรับภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่ วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบาบัดและ/หรือรังสีรักษา สารสาคัญที่ใช้ในตารับคือ Acemannan จากว่านหางจระเข้และ ECa 233 จากใบบัวบกซึ่งมีฤทธิ์ ในการสมานแผล สารยึดเกาะเยื่อเมือกที่ใช้ในการศึกษาคือ เพกติน และโซเดียมอัลจิเนท จาก การศึกษาพบว่าความเข้มข้นของเพกติน และโซเดียมอัลจิเนทที่สามารถใช้ได้ในตารับแล้วสามารถ พ่นเป็นละอองฝอยได้คือ 0.70% w/v จากการศึกษาสมบัติการยึดเกาะเยื่อเมือกด้วยวิธี mucin particle method พบว่า ตารับที่ใช้ เพกตินเป็นสารยึดเกาะเยื่อเมือก เมื่อความเข้มข้นของเพกติน เพิ่มขึน้ สมบัติการยึดเกาะเยื่อเมือกจะลดลง ในขณะที่ตารับที่ใช้โซเดียมอัลจิเนทเป็นสารยึดเกาะ เยื่อเมือก เมื่อความเข้มข้นของโซเดียมอัลจิเนทเพิ่มขึน้ สมบัติการยึดเกาะเยื่อเมือกจะเพิ่มขึน้ ความเข้มข้นของเพกติกและโซเดียมอัลจิเนทที่ทาให้ตารับมีการยึดเกาะเยื่อเมือกสูงสุดคือ 0.23% w/v และ 0.70% w/v ตามลาดับ โดยพบว่าตารับที่ใช้โซเดียมอัลจิเนทเป็นสารยึดเกาะเยื่อเมือกมี สมบัติการยึดเกาะเยื่อเมือกสูงสุด ตารับที่เตรียมได้มีพฤติกรรมการไหลแบบนิวโทเนียน การเติม สารสาคัญ Acemannan และ ECa 233 ลงไปในตารับ ไม่ส่งผลต่อคุณสมบัติการยึดเกาะเยื่อเมือก และพฤติกรรมการไหลของสเปรย์พ่นปาก |
abstract: This special project aimed to develop mouth spray with the mucoadhesive property for the treatment of chemotherapy-induced and/or radiation therapy-induced oral mucositis in head and neck cancer patients. The active ingredients were acemannan extracted from Aloe Vera and ECa 233 extracted from Centella Asiatica that has been shown to have a pharmacological effect on wound healing. Pectin and sodium alginate were used in this study due to its mucoadhesive effect. The maximum concentration of pectin and sodium alginate that can produce a spray from the pump was 0.70% w/v. The mucoadhesive effect was evaluated by mucin particle method. For the mouth spray prepared from pectin, increasing the content of pectin resulted in high viscosity but reduced the mucoadhesive property. In contrast, viscosity and mucoadhesive property of mouth spray increased when rising the content of sodium alginate. The suitable concentration of pectin and sodium alginate which provided the highest mucoadhesive properties was 0.23% and 0.70% w/v, respectively. Compared to pectin, sodium alginate showed the higher mucoadhesive property. The rheology of mouth spray prepared from pectin and sodium alginate was Newtonian behavior. The addition of Acemannan or ECa 233 did not affect the rheological behavior and mucoadhesive property of mouth spray. |
. |