การประยุกต์ใช้ตำรับ chitosan membrane ในการศึกษาการจับกันของยากับ plasma protein |
โดย: สิริพร ชัยสวนัยกรณ์,สุมิตรา สุเมธวราภา ปีการศึกษา: 2538 กลุ่มที่: 11 อาจารย์ที่ปรึกษา: กอบธัม สถิรกุล , สุวลี จันทร์กระจ่าง , สายจันทนา ศุภางค์ ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชกรรม Keyword: , |
บทคัดย่อ: การบริหารยาเพื่อให้ผู้ป่วยแต่ละคนเป็นสิ่งสำคัญจึงควรมีการวัดระดับยาในเลือดที่เรียก TDM (Therapeutic Drug Monitoring) เพื่อปรับ Dosage regimen การวัดความเข้มข้นทั้งหมดจะรวมถึงความเข้มข้นของยาที่จับกับ plasma protein และไม่ได้จับกับ plasma protein (free drug) ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงฤทธิ์ของยาอย่างแท้จริง ดังนั้นการทำ TDM ควรวัดแต่ส่วน free drug โดยเฉพาะยาที่มี Therapeutic windowแคบการวัดระดับยาโดยวิธี Equilibium dialysisเป็นวิธีหนึ่งที่วัด free drug โดยใช้ Semipermeable membrane วัตถุประสงค์หลักในการศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ Chitosan membrane ในการแยกยาที่จับกับ plasma protein และ free drug โดยจะเปรียบเทียบ cellulose membrane ที่มีใช้กันอยู่ในปัจจุบันซึ่งมีราคาแพง การผลิต chitosan membrane ในการทดลองนี้ใช้ 1% chitosan เป็น polymerในการขึ้น membrane และใช้ยา paracetamol และ sulfadiacine เป็นโมเดลในการทดลองในแง่การตรวจสอบการ leak and adsorption , การตรวจสอบการจับกับ albumin และการหาเวลาสมดุลย์ โดยใช้ยาทั้ง 2 กับ membraneทั้ง 2 ชนิด จากผลการทดลองสรุปได้ว่า Chitosan membrane มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับ Cellulose membraneโดยไม่มีการ adsorb,leak ของ albumin, การจับกับ plasma protein คิดเป็น % Protein bindingและเวลาถึงสมดุลย์ใกล้เคียงกันดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ที่จะมีการใช้ chitosan membrane แทน cellulose membrane ซึ่งมีราคาแพง ในการเป็นequilibrium dialysis membrane |
abstract: The Drug Administration in cach individual is important. The therapeutic drug monitoring ( TDM ) should be conducted to adjust the dosage regimen. Normally, the total plasma drug concentration is measured . In fact, only free drug in plasma exhibits phamacological effect . Thus, the measurement of free drug concentration in plasma should be conducted, especially for drugs which have narrow therapeutic window. The equilibrium dialysis is one of the method to measure free drug concentration in plasma by using semipermeable membrane. The main objective of this study is to evaluate possiblility of using chitosan membrane to separate plasma protein bound drug and plasma free drug by comparing with the use of expensive cellulose membrane as semipermeable membrane. The chitosan membrane is prepared form 1% chitosan gel. The paracetamol and sulfadiazine are use as model drug to evaluate the absorption of drugs with both cellulose and chitosan membrane, the time for equilibrium and free fraction of both drugs after binding with albumin. The adsorption of albumin with both membranes and the leakage of albumin through both membranes are also evaluated. In conclusion, chitosan membrane has the same results as cellulose membrane in terms of adsorption and leakage of albumin, percent free fraction and time for equilibrium. Thus, it is possible to use chitosan membrane instead of expensive cellulose membrane in equilibrium dialysis for clinical uses. |
. |