เครื่องดื่มเกลือแร่-กระเจี๊ยบเพื่อใช้ในสภาวะอุจจาระร่วงจากการติดเชื้อ |
โดย: ภัทราวดี จันทร์แจ่ม,มณฑรัตม์ บุรุษานนท์ ปีการศึกษา: 2538 กลุ่มที่: 1 อาจารย์ที่ปรึกษา: มาลิน จุลศิริ , สมบูรณ์ เจตลีลา ภาควิชา: ภาควิชาจุลชีววิทยา Keyword: , |
บทคัดย่อ: ในการศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อสายพันธุ์อ้างอิง 2 ชนิดคือ Staphylococcus aureas ATCC 25923 และ Escherichia coli ATCC 25922 ของสารสกัดนำกระเจี๊ยบที่ความเข้มข้น 5มก./discโดยวิธี agar-disc diffusion และหาค่า minimum inhibitory concentration (MIC) และ minimum bactericidal concentration (MBC) โดยวิธี broth dilution พบว่าสารสกัดสามารถต้านเชื้อโดยก่อให้เกิดบริเวณใส เมื่อตรวจดูค่าMICและ MBCพบว่าใกล้เคียงกันคือประมาณ 25-50 มล./มล เมื่อนำสารสกัดนี้มาผสมกับเกลือแร่ตามสัดส่วนที่ได้ระบุไว้ในสูตรนำตาลเกลือแร่ขององค์การอนามัยโลก แล้วนำมาทำเป็นผลิตภัณฑ์โดยวิธี lyophilization, spray drying และ wet granulation ปรากฏว่า รูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ของสารสกัดผสมเกลือแร่ก่อนและหลังการทำแห้ง โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้ยังคงมีฤทธิการฆ่าเชื้อเช่นเดิม ขณะที่ได้จากวิธี wet granulation จับเป็นก้อนเหนียว |
abstract: In antimicrobial study of a water extract from roselle upon 2 reference bacterial strains , i.e. , Staphylococcus aureas ATCC 25923 and Escherichia coli ATCC 25922 by agar-disc diffusion method at 5 mg/disc and by broth dilution method to determine of minimum inhibitory concentration (MIC) and minimum bactericidal concentration (MBC) ,results revealed that such extract caused the clear zone and the MIC as well as MBC values were found to be similar. They were 25-50 mg/ml. When this extract was mixed with oral rehydration solution (ORS) formular as recommended by World Health Organization using lyophilization, spray drying and wet granulation, it was found that the appearance of dry products which prepared by the extract either dried before and after mixing with ORS obtained from lyophilization and spray drying were acceptable. All prepared products still retained their antimicrobial activities. The product from wet granulation;however, appeared as the clamp mass . |
. |