ครีมที่ทำให้ผิวขาวขึ้นจากโกฐน้ำเต้า |
โดย: จิราพร เลื่อนผลเจริญชัย,ปถมาภรณ์ ตั้งธีระคุณ ปีการศึกษา: 2545 กลุ่มที่: 8 อาจารย์ที่ปรึกษา: จิตต์กวี ปวโร , พรรณวิภา กฤษฎาพงษ์ ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชเคมี Keyword: , |
บทคัดย่อ: เนื่องจากมีรายงานคุณสมบัติการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ไทโรซิเนสที่มีแระสิทธิภาพของโกฐน้ำเต้า โครงการพิเศษนี้จึงเตรียมครีมที่ทำให้ผิวขางขึ้นจาการสกัดเหง้าโกฐน้ำเต้าด้วย acetone และควบคุมภาพทางสมุนไพรโดยใช้วิธี TLCเปรียบเทียบสารสกัดกับ emodin,chrysophanol,rheinและ1,8-dihydroxyanthraquinone (ethlactate:methanol:water=32:5:3)ได้ค่า Rf=0.87,0.14,0.41และ0.87ตามลำดับ ค่า Rf ของสารสกัด =0.11,0.43,0.53และ0.87ซึ่งมีค่ามาตรฐาน 2 ตัว คือ emodin และ 1,8-dihydroxyanthraquinoneและทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสในหลอดทดลองของสารสกัดโกฐน้ำเต้าและ kojic acid ที่ความเข้มข้น 0.01 mg/ml พบว่ามีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งเอนไซม์ 10.10%และ12.69%ตามลำดับ ดัวยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงเตรียมครีมโกฐน้ำเต้าดดยนำตำรับที่เสถียรที่สุดซึ่งคัดเลือกจากครีมเบส 6 ตำรับและทดลองคุณสมบัติทางกายภาพและความคงตัวของครีมโกฐน้ำเต้าที่ความเข้มข้น 0.1%,1.0%และ3.0%โดยน้ำหนัก แล้วนำมาทดสอบการระคายเคืองในอาสาสมัครจำนวน 24 คน จากนั้นวัดค่าความเข้มของสีผิว แบะค่าอิริทีมาด้วยเครื่อง Mexmeter Mx 16®ทุกสัปดาห์ เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ซึ่งพบว่าครีมเบสไม่มีผลต่อความเข้มของสีผิง แต่ครีมโกฐน้ำเต้าทั้ง 3 ความเข้มข้นสามารถลดความเข้มของสีผิวได้อย่างมีนัยสำคัญ และครีมโกฐน้ำเต้าในแต่ละตวาเข้มข้นสามารถลดความเข้มของสีผิวได้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ จากการวัดค่าอิริทีมาพบว่าครีมโกฐน้ำเต้าทั้ง 3 ความเข้มข้นไม่เกิดการระคายเคืองผิว ดังนั้นครีมโกฐน้ำเต้าที่ความเข้มข้น 0.1% โดยน้ำหนัก เป็นตำรับที่เหมาะสมที่สุดในการทำครีมที่ทำให้ผิวขาวขึ้น |
abstract: Tyrosinase inhibitor effcacy from Rheum officinale Baillon. Rhizome was reported and the whtening cream form acetone extract was performed and assayed method by fingerprint thin layer chromatography by comparison with emodin,chrysophanol,rhein and 1,8-dihydroxyanthraquinone,the solvent system was ethylacetate:methanol:water=32:5:3.The observed Rf values were 0.87,0.14,0.41and 0.87,respectively white the Rf values of the extracted rhizome were 0.11,0.43,0.53and0.87.One of these spots have the Rf valua similar to emodin and 1,8-dihydroxyanthraquinone. In vitro the tyrosinase inhibitor activity of rhubarb extract and kojic acid at the same concentration (0.01mg/ml) were investigated and found that, the inhibition of both were 12.12% and 12.69%,respectively. For this reason the six preparations and their physical properties and stability of rhubarb cream at concentration 0.1%,1.0%and 3.0%w/w were investigated. The test for irritation in 24 volunteers was performed,theskin color intensity and erythema value by using Mexameter MX 16 were evaluated every week for 4 weeks.As the result,the cream base showed no there effects Mean white rhubarb creams(0.1%,1.0%,3.0%w/w) signficantly decreased skin color intensity, and nonsignificantly decreased skin color intensity among these three concentrations. The skin irritation wasn t observed for these three concentrations. Finally,we can conclude that 0.1%w/w rhubarb cream was the most appropriate concentration for whitening cream. |
. |