การศึกษาความคงตัวของยาต้นแบบและยาสามัญพรีกาบาลินในประเทศไทย |
โดย: นางสาววรารัตน์ เพชรศรีช่วง, นางสาววสุนันท์ ศิริโภคาธิรัตน์ ปีการศึกษา: 2559 กลุ่มที่: 43 อาจารย์ที่ปรึกษา: ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์ , นันทนา นุชถาวร , จิรพงศ์ สุขสิริวรพงศ์ , จิราพร เลื่อนผลเจริญชัย ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชกรรม Keyword: พรีกาบาลิน อิแนนทิโอเมอร์ Marfey’s reagent ยาต้นแบบ ยาสามัญ, pregabalin, enantiomer, Marfey’s reagent, original, generic |
บทคัดย่อ: จุดประสงค์ของการศึกษานี ้คือ เพื่อศึกษาปริมาณ S-pregabalin ซึ่งเป็นตัวยาสาคัญที่มีฤทธิ์ทาง เภสัชวิทยาในผลิตภัณฑ์ยาต้นแบบและยาสามัญพรีกาบาลินที่มีวางจาหน่ายในประเทศไทย วิธีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ขัน้ ตอน ขัน้ ตอนแรกเป็นการพัฒนาและตรวจสอบความถูกต้องของวิธีการวิเคราะห์ปริมาณ ยาพรีกาบาลินและอิแนนทิโอเมอร์ ผลการศึกษาของขัน้ ตอนแรกพบว่า วิธีโครมาโตกราฟี ของเหลวแรงดันสูง โดยใช้คอลัมน์ C18 ขนาดอนุภาค 5 ไมครอน ความยาว 250 มิลลิเมตร ที่มี phosphate buffer:acetonitrile (55:45) เป็นวัฏภาคเคลื่อนที่ สามารถแยกอนุพันธ์ของอิแนนทิโอเมอร์พรีกาบาลินได้ภายหลังนาพรีกาบาลิน มาทาปฏิกิริยาด้วย Marfey’s reagent ในสารละลายโซเดียมคาร์บอเนต ที่อุณหภูมิห้อง 30 นาที โดยค่า retention time ของ S-pregabalin และ R-pregabalin เท่ากับ 11 นาที และ 13 นาที ตามลาดับ และมีค่า resolution เท่ากับ 2.914 และ 2.245 ตามลาดับ ส่วนขัน้ ตอนที่สองเป็นการวิเคราะห์ปริมาณ S-pregabalin ในผลิตภัณฑ์ยาสาเร็จรูปชนิดแคปซูลขนาด 75 มิลลิกรัม ซึ่งยาต้นแบบและยาสามัญยี่ห้อ X และ Y ผ่าน เกณฑ์ตามเภสัชตารับในการประเมินความแปรปรวนของน ้าหนัก มีปริมาณตัวยาสาคัญร้ อยละ 107.91±1.42, 106.02±1.48 และ 106.24±0.65 ของปริมาณที่ระบุบนฉลาก และมีปริมาณ S-pregabalin ใน 1 แคปซูล เท่ากับ 80.93±1.11, 79.52±1.06 และ 79.68±0.48 มิลลิกรัม ตามลาดับ โดยผลิตภัณฑ์ยาทัง้ 3 ยี่ห้อมีการแตกตัวสมบูรณ์ที่เวลา 2.23±0.12, 2.33±0.13 และ 2.77±0.43 นาที ตามลาดับ และให้การ ละลายของยามากกว่าร้อยละ 80 ภายใน 20 นาที ซงึ่ ทัง้ 3 ยี่ห้อมีลักษณะการละลายไม่แตกต่างกันทางสถิติ และยาทัง้ หมดที่ละลายอยู่ในรูป S-pregabalin โดยสรุป ผลิตภัณฑ์ยา pregabalin ต้นแบบและยาสามัญทัง้ 2 ยี่ห้อมีปริมาณ S-pregabalin ตามเกณฑ์ที่กาหนดในเภสัชตารับ |
abstract: The objective of this study was to determine the amount of S-pregabalin, pharmacologically active enantiomer, in original and generics of pregabalin products available in Thailand. The methodology was divided into 2 parts. First step was to develop and validate the analytical method of pregabalin and its enantiomers. We found that enantioseparation of pregabalin could be achieved in phosphate buffer : acetonitrile (55:45) by using C18, 5 micron, 250 millimeters high performance liquid chromatography. Pregabalin was pre-column derivatised with Marfey’s reagent in sodium carbonate solution at room temperature for 30 minutes. Retention time of S-pregabalin and R-pregabalin were 11 and 13 minutes and the resolution were 2.914 and 2.245, respectively. Secondly, the validated method was applied to determine the amount of S-pregabalin in 75-mg capsule of commercial products. All brands passed the Pharmacopoeial criteria of weight variation test. The percentages of active ingredient in original drug and generic X and Y drugs were 107.91±1.42, 106.02±1.48 and 106.24±0.65 of label claims. The quantities of S-pregabalin in each capsule were 80.93±1.11, 79.52±1.06 and 79.68±0.48 mg, respectively. The complete disintegration times of all 3 brands were 2.23±0.12, 2.33±0.13 and 2.77±0.43 minutes, respectively. The dissolved drug of all brands was in the form of Spregabalin with more than 80% within 20 minutes and their dissolution patterns were not significantly different. In conclusion, the original and generics products of pregabalin contained the acceptable amount of S-pregabalin according to the Pharmacopoeial criteria. |
. |