การเปรียบเทียบการตรวจเชื้อซัลโมเนลลาในเนื้อไก่ไทยโดยใช้ปฏิกิริยา โพลีเมอร์เรสเชนและอิมมูโนโครมาโตกราฟิกแอสเสย์ |
โดย: นางสาวปารวี วีชะรังสรรค์, นางสาวศิรดา สุริยะวงศ์ ปีการศึกษา: 2557 กลุ่มที่: 4 อาจารย์ที่ปรึกษา: ปริ่มเฉนียน มุ่งการดี , วัลลา ตั้งรักษาสัตย์ ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชวิทยา Keyword: Salmonella spp., polymerase chain reaction, immunochromatographic test, lateral flow test, Salmonella spp., polymerase chain reaction, immunochromatographic test, lateral flow test |
บทคัดย่อ: เชื้อ Salmonella spp. เป็นสาเหตุสาคัญที่ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหารของมนุษย์ (Salmonellosis) ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการปนเปื้อนของเชื้อ Salmonella spp. ในเนื้อไก่ ซึ่งเป็นปัญหาสาคัญทางสาธารณสุข ดังนั้น คณะกรรมการอาหารและยาได้มีข้อกาหนดระบุว่าไม่ให้มีการปนเปื้อนของเชื้อ Salmonella spp. ในอาหารและเนื้อสัตว์สาหรับการอุปโภคทุกชนิด ดังนั้นจึงต้องมีการตรวจสอบการปนเปื้อนของเชื้อ ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วใช้วิธีการตรวจมาตรฐานทางจุลชีววิทยาในการตรวจสอบ ซึ่งใช้ระยะเวลานานในการตรวจ โครงการพิเศษนี้ได้จัดทาขึ้นเพื่อเปรียบเทียบการตรวจสอบเชื้อ Salmonella spp. อย่างรวดเร็วในเนื้อไก่โดยวิธี PCR ซึ่งใช้หลักการตรวจหาดีเอ็นเอของเชื้อ Salmonella spp. ที่มีการปนเปื้อนในตัวอย่างเนื้อไก่ และ ชุดตรวจ immunochromatographic test หรือ lateral flow test ซึ่งใช้หลักการตรวจหาแอนติเจนจาเพาะของเชื้อ Salmonella spp. ที่มีการปนเปื้อนในตัวอย่างเนื้อไก่ ซึ่งทั้ง 2 วิธีสามารถตรวจสอบเชื้อ Salmonella spp. ในเนื้อไก่ได้ในเวลาอันสั้นเมื่อเทียบกับใช้วิธีมาตรฐาน และยังคงให้ผลที่ถูกต้อง โดยวิธี PCR และชุดตรวจ immunochromatographic test มีความไวของการตรวจเชื้อ Salmonella spp. ที่ความเข้มข้นต่าสุดที่ 105 CFU/ml และ 104 CFU/ml ตามลาดับ เมื่อเปรียบเทียบทั้ง 2 วิธี พบว่าชุดตรวจ immunochromatographic test สามารถนาไปใช้ได้จริงในการลงพื้นที่และมีความสะดวกรวดเร็วในการตรวจสอบ สาหรับวิธี PCR ต้องทาการตรวจเชื้อในห้องปฏิบัติการเท่านั้น และใช้ระยะเวลานานกว่าชุดตรวจimmunochromatographic test |
abstract: Salmonella spp. was a main cause of gastrointestinal diseases in humans. In addition, the contamination of Salmonella spp. in chicken may cause Salmonellosis in human which is the main public health problem all over the world. Therefore, Thai Food and Drug Administration has set the regulation on the prohibiting the contamination of Salmonella spp. in foods and meats for all foods consumption. The microbiological technique is the standard for all the regulations to detect Salmonella spp. contaminations. Unfortunately, the standard technique and protocols take at least 5-7 days. This project was aimed to detect Salmonella spp. in chicken by PCR test which could detect the nucleic acid from contaminated Salmonella spp. in the samples and comparing with immunochromatographic test or lateral flow which would detect the contaminated Salmonella antigen. Both rapid methods are specific and sensitive to be used for detecting Salmonella spp. contamination in chicken. The minimum concentrations of Salmonella to detection by immunochromatographic test and PCR were 105 CFU/ml and 104 CFU/ml respectively. The results demonstrated that the immunochromatographic test is a sensitivity analysis to detect Salmonella spp. comparing to both tests, immunochromatographic test can really used in the field work, and provide more convenient and rapid detection. For PCR test must only was used in the laboratory and took longer time than immunochromatographic test and needs the well trained assistant for laboratory assay. |
. |