รูปแบบการใช้ยา Acetaminophen

โดย: สุรศักดิ์ ประจักษ์วิกรานต์,อติเทพ หมู่เรืองรัตน์    ปีการศึกษา: 2541    กลุ่มที่: 10

อาจารย์ที่ปรึกษา: เล็ก รุ่งเรืองยิ่งยศ , เฉลิมศรี ภุมมางกูร    ภาควิชา: ภาควิชาเภสัชกรรม

Keyword: ,
บทคัดย่อ:
การสึกษานี้ทำเพื่อวัดรูปแบบการรักษาอาการปวดศีรษะและเป็นไข้ของกลุ่มตัวอย่าง และความรู้ในการใช้ยา acetamimophen กลุ่มตัวอย่างจะวัด 5 จุดประสงค์ ได้แก่ ข้อบ่งใช้ นานดแนะนำให้ใช้ รูปแบบของตำรับยา อาการข้างเคียง ปฎิกิริยาระหว่างยากับยา และยากับอาหาร โดยทำการสัมภาษณ์ตัวต่อตัวจากกลุ่มตัวอย่าง 200 คนจากห้างสรรพสินค้า 4 แห่ง ในกรุงเทพมหานครระหว่างเดินเมษายนถึงเดือนกรกฎาคม 1998 ซึ่งมีผู้ชาย 85 คนและผู้หญิง 115 คนที่ตอบแบบสอบถามอย่างสมบรูณ์ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะใช้ยารักษาตัวเอง 99 เปอร็เซ็นต์ของกลุ่มตัวอย่างนี้ รู้จักยา acetamimophen การสำรวจนี้จะแบ่งตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่มตามอาชีพ และการศึกษา โดยที่ผลการสำรวจพบว่าเป็นกลุ่มบุคลากรทางสาธารณสุขจำนวน 17 คน และผู้ที่ไม่ได้เป็นบุคลาการทางสาธารณสุขจำนวน 183 คน โดยรวมแล้วพบว่าในการประเมินความรู้ในการใช้ยา acetamimophen ระหว่างกลุ่มบุคลากรทางสาธารณสุข และกลุ่มผู้ที่ไม่ได้เป็นบุคลากรทางสาธารณสุขมีความแตกต่างอย่างมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนการแบ่งตามการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง มีผู้ที่มีการศึกษาสูงจำนวน 90 คน และผู้ที่มีการศึกษาต่ำจำนวน 110 คน พบว่าในบางจุดประสงค์เท่านันที่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ เช่น ขนาดแนะนำให้ใช่ รูปแบบของตำรับยา และอาการข้างเรยง ของยา acetamimophen สุดท้ายนี้ ความรู้เรื่องการใช้ยา acetamimophen ของผู้บริโภคน่าจะเป็ฯแนวทางที่ดี เพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้ที่ไม่ใช่บุคลากรทางสาธารณสุขให้สามาถที่จะใช้ยา acetamimophen ได้อย่างเหมาะสม
abstract:
This study assessed the subjects pattern of headache and fever management and knowledge of acetaminophen consumption. Subjects were measured the five aspects; indication, dosage regimen,preparation,sid effects,and drug-drug and drug-food interaction of acetaminophend.A face-to-face interview was conducted with 200 subjects form four department stres in bangkok during april to July 1998. A total of 85 males and 115 females complete the interview. The majority of subjects were non-prescription drug management.99% of these group knew acetaminophen. The survey was classified the subjects into two groups based on career and education. The results shown that there wre healthcare professional(n=17) and non-healthcare professional(n=183), Overall,there were significant difference found in the evaluation of the knowledge of acetaminophen consumption between healthcare professional and non-healthcare professional. the subjects based on education were high education(n=110) and low education(n=90).There were significant difference found in some aspects such as dosage regimen,preparation,and side effect of acetaminophen.Finally,the knowledge of acetaminophen cinsumption of consumers may be good guideline for health promotion of the non-healthcare professional s ability to use acetaminophen approriately.
.